Show simple item record

dc.contributor.authorทัศฐา ศรีวาลัยth
dc.date.accessioned2020-06-30T08:35:40Z
dc.date.available2020-06-30T08:35:40Z
dc.date.issued2563-06-30
dc.identifier.urihttps://repository.turac.tu.ac.th/handle/6626133120/853
dc.description.abstractเพื่อศึกษาพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานภายในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor: EEC) ในกรณีถนนสายรองของกรมทางหลวงชนบท (Feeder Road) ให้สามารถรองรับการพัฒนาพื้นที่ใหม่และแก้ไขปัญหาปริมาณจราจรที่เพิ่มขึ้นในอนาคตของกรมทางหลวงชนบท ให้เชื่อมต่อกับระบบคมนาคมอื่น ๆ และเข้าถึงพื้นที่ต่าง ๆ อย่างทั่วถึง จากการวิเคราะห์ระดับบริการของสายทางในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) โดยแบบจำลองด้านการจราจรและขนส่งในปีอนาคตที่ พ.ศ. 2565- 2585 จำนวนทั้งสิ้น 130 สายทาง ประกอบด้วย จังหวัดฉะเชิงเทรา 30 สายทาง จังหวัดชลบุรี 55 สายทาง และจังหวัดระยอง 45 สายทาง พบว่า ในกรณีที่มีการพัฒนาพื้นที่ EEC แต่ไม่มีการปรับปรุงสายทางเพื่อรองรับ จะทำให้ระดับการให้บริการของสายทางอยู่ในระดับ D ซึ่งต่ำกว่าระดับการยอมรับได้ตามมาตรฐานของ American Association of State Highway and Transportation Official จำนวน 13 สายทาง เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าวเบื้องต้นจึงได้ทำการออกแบบและปรับปรุงสำหรับสายทางดังกล่าว โดยขยายเป็น 4 ช่องจราจร ช่องละ 3.5 เมตร ไหล่ทาง 2.5 เมตร และวิเคราะห์ความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ในการปรับปรุงสายทางทั้ง 13 ทาง พบว่าค่า NPV และค่า B/C มีค่าเป็นบวก และค่า EIRR อยู่ระหว่าง 9% - 29% To study of the infrastructure development within the Eastern Economic Corridor area to support the development of new areas and solve traffic problems in the future, In the case of the secondary roads of the Department of Rural Roads (Feeder Road). From the analysis of the service levels of the routes in the Eastern Economic Corridor (EEC) by the traffic and transportation models in the future years 2022-2042, a total of 130 routes consisting of 30 Chachoengsao provinces, Chon Buri province 55 route and Rayong province 45 route, found that in the case of EEC area development but there is no improvement of route to support will cause the service level of the route to be at level D which is lower than the standard acceptance level of the American Association of State Highway and Transportation Official, consisting of 13 routes. To solve these problems, we have designed and improved the road by expanding to 4 traffic lanes, 3.5 meters per lane, 2.5 meters shoulder. The results of economic analysis on all 13 road improvements showed that the NPV and B/C values were positive and the EIRR was between 9% - 29%.th
dc.format.mimetypeapplication/pdfth
dc.language.isothath
dc.publisherสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์th
dc.rightsเอกสารฉบับนี้สงวนสิทธิ์โดยผู้ให้ทุน ห้ามทำซ้ำ คัดลอก หรือนำไปเผยแพร่ตัดต่อโดยมิได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรth
dc.subjectการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกth
dc.subjectถนนสายรองth
dc.subjectกรมทางหลวงชนบทth
dc.subjectDevelopment within the Eastern Economic Corridor Areath
dc.subjectFeeder Roadth
dc.subjectDepartment of Rural Roadsth
dc.titleแผนแม่บทพัฒนาโครงข่ายทางหลวงชนบทสนับสนุนเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC)th
dc.title.alternativeThe Development of rural road network master plan to support the eastern economic corridorth
dc.typeTextth
dcterms.accessRightsบุคคลทั่วไปสามารถเข้าถึงเอกสารนี้ได้th
dc.rights.holderกรมทางหลวงชนบทth
cerif.cfProj-cfProjId2562A00019th
mods.genreรายงานวิจัยth
turac.projectTypeโครงการที่ปรึกษาth
turac.researchSectorสาขาการคมนาคมขนส่ง (Transportation sector : TR)th
turac.contributor.clientกรมทางหลวงชนบท
turac.fieldOfStudyวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีth
cerif.cfProj-cfTitleแผนแม่บทพัฒนาโครงข่ายทางหลวงชนบทสนับสนุนเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC)th
cerif.cfProj-cfProjStatusสิ้นสุดโครงการth


Files in this item

Thumbnail

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record