Show simple item record

dc.contributor.authorวินัย รักสุนทร
dc.contributor.otherสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2019-04-25T03:28:29Z
dc.date.available2019-04-25T03:28:29Z
dc.date.issued2018
dc.identifier.urihttps://repository.turac.tu.ac.th/handle/6626133120/575
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ เป็นการศึกษาเพื่อหาแนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการทางแยกในพื้นที่เขตเมืองที่มีลักษณะเป็นโครงข่าย ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวง ซึ่งการศึกษาพบว่า ระบบการควบคุมการจราจรแบบทำงานประสานสัมพันธ์กันที่มีระบบปรับเปลี่ยนตามสภาพการจราจร (บน 5 ทางแยกบนถนนประเสริฐมนูกิจ) ช่วยทำให้ระบบการควบคุมทางแยกทำงานได้ดีขึ้น ช่วยลดการทำงานของตำรวจจราจรลดลงจากเดิมที่เคยทำงาน 13 ชั่วโมงต่อวันเหลือเพียง 8 ชั่วโมงต่อวันในวันธรรมดา (คิดเป็นลดลงร้อยละ 37.7) และลดจาก 7 ชั่วโมงต่อวันเป็นเหลือเพียง 2 ชั่วโมงต่อวันในวันอาทิตย์ (คิดเป็นร้อยละ 71.4) นอกจากนี้ระบบควบคุมสัญญาณไฟแบบอัตโนมัติที่ที่ปรึกษานำมาติดตั้ง สามารถลดเวลาในการเดินทางลงได้ถึง 6.99 ล้าน คัน-วินาที (1,942 คัน-ชม.) 2.49 ล้าน คัน-วินาที (692 คัน-ชม.) และ 6.86 ล้าน คัน-วินาที (1,905 คัน-ชม.) สำหรับวันธรรมดา วันเสาร์ และวันอาทิตย์ ตามลำดับ โดยจุดคุ้มทุนของโครงการ น้อยกว่า 1 เดือน และมีค่า Benefit Cost Ratio (B/C) = 6.83 หรือคิดเป็นอัตราผลตอบแทน (Internal Rate of Return, IRR) ได้ถึงร้อยละ 179 ต่อปีth
dc.description.abstractThis research was studied to provide guidance on how to increase the efficiency of traffic management on intersection network in an urban area in responsible of the Department of Highways. This study found that a Synchronized Vehicle Actuated Signal Control, at five intersections on Prasert-manukit Road, helped increasing the performance of traffic operations on the whole network. This signal control system cut the working hours of the traffic police down from 13 hours to 8 hours (37.7%) and from 7 hours to 2 hours (71.4%) for weekday and Sunday respectively. The signal control system was also been able to reduce travel times by 1,942 vehicle-hour, 692 vehicle-hour, and 1,905 vehicle-hour for weekday, Saturday, and Sunday respectively. Furthermore, the study also suggested that the break-even point of the project was less than one month with the benefit cost ration of 6.83 and the internal rate of return of 179 percent per year.th
dc.description.sponsorshipกรมทางหลวง
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothaen
dc.publisherสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
dc.rightsเอกสารฉบับนี้สงวนสิทธิ์โดยสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ห้ามทำซ้ำ คัดลอก หรือนำไปเผยแพร่ตัดต่อโดยมิได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษร
dc.subjectจราจรบริเวณทางแยกth
dc.subjectทางแยกในพื้นที่เขตเมืองth
dc.subjectสภาพการจราจรth
dc.titleศึกษาและประเมินการเพิ่มประสิทธิภาพมาตรฐานการเคลื่อนตัวของจราจรบริเวณทางแยกระยะที่ 1
dc.title.alternativeThe Study of Performance Evaluations of Traffic Movements at a Signalized Intersection Phase 1
dc.typeText
dcterms.accessRightsสงวนสิทธิ์ในการเข้าถึงเฉพาะบุคลากรของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
dc.rights.holderกรมทางหลวง
cerif.cfProj-cfProjId2561A00025
mods.genreบทความ
mods.location.physicalLocationสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
turac.projectTypeโครงการวิจัย
turac.researchSectorสาขาการคมนาคมขนส่ง (Transportation sector : TR)
turac.contributor.clientกรมทางหลวง
turac.fieldOfStudyสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
cerif.cfProj-cfProjStatusสิ้นสุดโครงการ


Files in this item

Thumbnail

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record