Show simple item record

dc.contributor.authorจิตตาภรณ์ ศรีบุญจิตต์
dc.contributor.otherสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2013-12-20T03:16:33Z
dc.date.available2013-12-20T03:16:33Z
dc.date.issued2011
dc.identifier.urihttps://repository.turac.tu.ac.th/handle/6626133120/4
dc.description.abstractThe significant objective of Land Valuation of Agricultural Land Reform Project, Phase 2, is to set up valuation criteria for determining values of agricultural land use. Samples of1120 agriculturists were totally chosen from those who lived in 14 provinces (80 persons / province) of agricultural land reform areas including various types of public lands, private lands and royal lands. Researchers considerably studied land use patterns with emphasis on the top three ranking of the extent of cultivation land and pasture in each province. Conceptual methodology of the two predominant approaches to land valuation, i.e., Land residual approach and Government assessment value, were used as a basis of criteria for determining values of agricultural land use. The essence of criteria comprised of 3 means of valuing land prices, i.e., a) cost estimate of an overview of agribusiness value, b) cost estimate of provincial agribusiness value and c) ratio of cost estimate (land residual approach / government assessment value) basing on provincial reference prices of land.en
dc.description.abstractโครงการการศึกษาแนวทางการประเมินมูลค่าที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดินเพื่อ เกษตรกรรมเป็นการดำเนินการต่อจากการศึกษาระยะที่ 1 มีวัตถุประสงค์เพื่อกำหนดเกณฑ์การประเมินมูลค่าที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดินและประยุกต์ใช้เกณฑ์ดังกล่าวกำหนดมูลค่าสิทธิการใช้ประโยชน์ในเขตปฏิรูป ดำเนินการรวบรวมข้อมูลจากตัวอย่างเกษตรกร 1120 รายในพื้นที่นำร่องตามประเภทของที่ดินเขตปฏิรูป 3 ประเภท กล่าวคือ ที่ดินของรัฐ ที่ดินเอกชนและที่ดินพระราชทาน รวม 14 จังหวัด จังหวัดละ 80 ราย ศึกษาการใช้ประโยชน์ที่ดินโดยพิจารณาจากพื้นที่ที่ใช้ทำการเกษตรหรือปศุสัตว์ที่มีจำนวนมากที่สุด 3 อันดับแรกในแต่ละพื้นที่ เกณฑ์การประเมินศึกษาจากวิธีมูลค่าที่เหออยู่และวิธีอ้างอิงราคาจากหน่วยงานราชการ นำแนวคิดดังกล่าวมาสรุปเป็นแนวทางการประเมินมูลค่าสิทธิการใช้ประโยชน์ที่ดิน ส.ป.ก. 3 แนวทางด้วยกัน ได้แก่ 1. ใช้ราคาประเมินที่ได้จากมูลค่าทางธุรกิจของการทำเกษตรกรรมจากข้อมูลภาพรวม 2. ใช้ราคาประเมินที่ได้จากมูลค่าทางธุรกิจของการทำเกษตรกรรมจากข้อมูลรายจังหวัด 3. ใช้สัดส่วนมูลค่าประเมินจากวิธีมูลค่าที่เหลืออยู่ต่อมูลค่าราคาที่ดินจากวิธีอ้างอิงราคาของหน่วยราชการ รายจังหวัดth
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothaen
dc.publisherสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
dc.rightsเอกสารฉบับนี้สงวนสิทธิ์โดยสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ห้ามทำซ้ำ คัดลอก หรือนำไปเผยแพร่ตัดต่อโดยมิได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษร
dc.subjectโครงการการศึกษาแนวทางการประเมินมูลค่าที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม สำนักการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ระยะที่2)th
dc.subjectการประเมินมูลค่าที่ดินth
dc.subjectที่ดินth
dc.subjectที่ดินเพื่อเกษตรกรรมth
dc.subjectสำนักการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมth
dc.subjectเกษตรกรรมth
dc.subjectการประเมินมูลค่าที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดินth
dc.titleรายงานฉบับสุดท้าย โครงการการศึกษาแนวทางการประเมินมูลค่าที่ดินในเขตปฏิรูป ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม สำนักการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ระยะที่2)
dc.typeText
dcterms.accessRightsสงวนสิทธิ์ในการเข้าถึงเฉพาะบุคลากรของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
cerif.cfProj-cfProjId2554A00098
mods.genreรายงานวิจัย
mods.location.physicalLocationสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
turac.projectTypeโครงการวิจัย
turac.researchSectorสาขาการเกษตรและการพัฒนาชนบท (Agriculture And Rural Development sector : AG)
turac.contributor.clientสำนักการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
turac.fieldOfStudyสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
cerif.cfProj-cfProjStatusสิ้นสุดโครงการ


Files in this item

FilesSizeFormatView

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record