Show simple item record

dc.contributor.authorธนวัต ลิมป์พาณิชย์กุล
dc.contributor.otherสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2018-11-22T02:25:12Z
dc.date.available2018-11-22T02:25:12Z
dc.date.issued2017
dc.identifier.urihttps://repository.turac.tu.ac.th/handle/6626133120/489
dc.description.abstractจากเขตพัฒนาการท่องเที่ยวที่ได้ประกาศได้แล้วจำนวน 9 เขต โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและประเมินความเหมาะสมของพื้นที่ทั่วประเทศเพื่อกำหนดเป็นเขตพัฒนาการท่องเที่ยวเพิ่มเติม โดยจากการสัมภาษณ์ผู้บริหารหน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้องกับการขับเคลื่อนนโยบายการท่องเที่ยว รวมถึงผู้ทรงคุณวุฒิด้านการท่องเที่ยว ประกอบกับการลงพื้นที่รับฟังความเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในแต่ละภูมิภาคจานวน 6 ครั้ง ใน 4 ภูมิภาค อันได้แก่ ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคใต้ สามารถกำหนดเขตพัฒนาการท่องเที่ยวเพิ่มเติมได้จำนวน 6 เขต คือ 1) เขตพัฒนาการท่องเที่ยวเมืองเก่ามีชีวิต 2) เขตพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน 3) เขตพัฒนาการท่องเที่ยววิถีชีวิตชายฝั่งอ่าวไทย 4) เขตพัฒนาการท่องเที่ยวผืนป่ามรดกโลกดงพญาเย็น-เขาใหญ่ 5) เขตพัฒนาการท่องเที่ยววิถีชีวิตลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา และ 6) เขตพัฒนาการท่องเที่ยวพหุวัฒนธรรมชายแดนใต้ ผลจากการศึกษานี้ได้ผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะดำเนินการประกาศเขตพัฒนาการท่องเที่ยวตามขั้นตอนและระเบียบที่เกี่ยวข้องต่อไปth
dc.description.abstractAccording to the Thailand’s Tourism Cluster which has already been announced into 9 clusters, this project aims to study and assess the appropriateness of area across the country to be designated as an additional tourism cluster. By interviewing with executives of government agencies and private sector organizations, who are involved in driving the tourism policy, together with tourism experts, and survey research on opinions of stakeholders at each region for 6 times, which 4 regions consist of Northern, Northeastern, Central, and Southern Thailand, the study can specify more 6 clusters of tourism which are; 1) Living Old Cities Tourism Cluster; 2) Northeastern Geological Tourism Cluster; 3) Way of Life in Coastline of the Gulf of Thailand Tourism Cluster; 4) Dong Phayayen–Khao Yai Forest Complex Tourism Cluster; 5) Way of Life in Songkhla Lake Basin Tourism Cluster; and 6) Southern Border Multicultural Tourism Cluster. The results of this study have been approved by the National Tourism Policy Committee and relevant organizations will proclaim the tourism clusters in accordance with relevant procedures and regulations further.th
dc.description.sponsorshipสำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothaen
dc.publisherสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
dc.rightsเอกสารฉบับนี้สงวนสิทธิ์โดยสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ห้ามทำซ้ำ คัดลอก หรือนำไปเผยแพร่ตัดต่อโดยมิได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษร
dc.subjectเขตพัฒนาการท่องเที่ยวเพิ่มเติมth
dc.titleศึกษา วิเคราะห์ และประเมินความเหมาะสมพื้นที่ทั่วประเทศเพื่อกำหนดเป็นเขตพัฒนาการท่องเที่ยวเพิ่มเติม
dc.title.alternativeProject for Study,Analysis and Assessment Area For Purpose to be Tourism Clusters
dc.typeText
dcterms.accessRightsสงวนสิทธิ์ในการเข้าถึงเฉพาะบุคลากรของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
dc.rights.holderสำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
cerif.cfProj-cfProjId2560A00555
mods.genreบทความ
mods.location.physicalLocationสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
turac.projectTypeโครงการวิจัย
turac.researchSectorสาขาการท่องเที่ยว (Tourism sector : TO)
turac.contributor.clientสำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
turac.fieldOfStudyสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
cerif.cfProj-cfProjStatusสิ้นสุดโครงการ


Files in this item

Thumbnail

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record