Show simple item record

dc.contributor.authorกฤดายุทธ์ ชมภูมิ่งth
dc.date.accessioned2023-01-16T08:19:11Z
dc.date.available2023-01-16T08:19:11Z
dc.date.issued2023-01-16
dc.identifier.urihttps://repository.turac.tu.ac.th/handle/6626133120/1162
dc.description.abstractสะพานกรุงเทพเป็นสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา ก่อสร้างแล้วเสร็จเมื่อปี พ.ศ. 2500 มีการใช้งานที่ยาวนานอย่างต่อเนื่องกว่า 60 ปี เชื่อมโยงการคมนาคมขนส่งระหว่างเขตบางคอแหลม (ฝั่งพระนคร) กับเขตธนบุรี (ฝั่งธนบุรี) มีลักษณะเป็นสะพานโครงถักเหล็กจำนวน 5 ช่วง โดยมีช่วงกึ่งกลางสะพานที่สามารถเปิด-ปิดได้เพื่อให้เรือขนาดใหญ่แล่นผ่าน ปัจจุบันโครงสร้างสะพานมีความชำรุดเสียหายและเสื่อมสภาพไปมาก ส่งผลกระทบต่อ ความมั่นคงแข็งแรงของโครงสร้างสะพาน กรมทางหลวงชนบทจึงมีความจำเป็นที่จะต้องทำการศึกษาโดยมี วัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบถึงสภาพความชำรุดเสียหายของสะพาน การเสื่อมสภาพของระบบขับเคลื่อนและกลไก เปิด-ปิดสะพาน รวมถึงการตรวจสอบความมั่นคงแข็งแรงของโครงสร้างสะพาน และกำหนดแนวทางและวิธีการบูรณะซ่อมแซมสะพานที่เหมาะสม ขอบเขตของงานประกอบด้วย งานสำรวจและตรวจสอบความเสียหายของสะพานและระบบขับเคลื่อนและกลไกเปิด-ปิดสะพาน งานตรวจสอบคุณสมบัติวัสดุ งานตรวจสอบพฤติกรรมของโครงสร้างสะพาน งานวิเคราะห์พฤติกรรมการรับน้ำหนักและความมั่นคงแข็งแรงของสะพานด้วยแบบจำลองไฟ ไนต์เอลิเมนต์ งานจัดทำแนวทางการบูรณะสะพานและแผนการตรวจสอบและบำรุงรักษาสะพานก่อนและหลังการบูรณะสะพานth
dc.description.abstractKrung Thep Bridge is a bridge across the Chao Phraya River. Bridge construction was completed in 1957. The bridge has been used continuously for more than 60 years, connecting transportation between Bang Kho Laem District (Phra Nakhon Side) and Thon Buri District (Thon Buri Side). Structurally, the bridge is composed of 5 spans of steel trusses, with a middle bascule span that can be opened and closed to allow large ships to pass. Due to aging, the bridge structure is vulnerable to damage and deterioration, concerned safety and stability of the bridge structure. The Department of Rural Roads has therefore carried out an investigation with the main objectives of examining and evaluating the damage conditions of the bridge and the opening-closing mechanism, including structural evaluation of the bridge structure and determination of appropriate guidelines for bridge rehabilitation. The scope of work includes damage inspection of the bridge structure and bridge opening-closing mechanisms, materials testing, and finite element analysis of bridge behaviors and evaluation of load-carrying capacities. Appropriate bridge rehabilitation plans are recommended. In addition, bridge inspection and maintenance plan before and after the bridge rehabilitation is presented.th
dc.description.sponsorshipกรมทางหลวงชนบทth
dc.format.mimetypeapplication/pdfth
dc.language.isothath
dc.publisherสถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์th
dc.publisherสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์th
dc.rightsเอกสารฉบับนี้สงวนสิทธิ์โดยผู้ให้ทุน ห้ามทำซ้ำ คัดลอก หรือนำไปเผยแพร่ตัดต่อโดยมิได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรth
dc.subjectการบูรณะสะพานth
dc.subjectสะพานกรุงเทพth
dc.titleศึกษาแนวทางการบูรณะสะพานกรุงเทพth
dc.title.alternativeInvestigation of Structural Rehabilitation for Krung Thep Bridgeth
dc.typeTextth
dcterms.accessRightsบุคคลทั่วไปสามารถเข้าถึงเอกสารนี้ได้th
dc.rights.holderกรมทางหลวงชนบทth
cerif.cfProj-cfProjId2565A00027th
mods.genreรายงานวิจัยth
turac.projectTypeโครงการที่ปรึกษาth
turac.researchSectorสาขาการคมนาคมขนส่ง (Transportation sector : TR)th
turac.contributor.clientกรมทางหลวงชนบท
turac.fieldOfStudyวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีth
cerif.cfProj-cfTitleศึกษาแนวทางการบูรณะสะพานกรุงเทพth
cerif.cfProj-cfProjStatusสิ้นสุดโครงการth


Files in this item

Thumbnail

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record