Show simple item record

dc.contributor.authorณรงค์ ใจหาญth
dc.contributor.authorรณกรณ์ บุญมีth
dc.date.accessioned2022-07-04T07:03:32Z
dc.date.available2022-07-04T07:03:32Z
dc.date.issued2565-07-04
dc.identifier.urihttps://repository.turac.tu.ac.th/handle/6626133120/1083
dc.description.abstractโครงการนี้มีวัตถุประสงค์สองประการคือ ประการแรก เพื่อให้การดำเนินงานของฝ่ายบริหารมีกฎหมายมารองรับมาตรการ กลไก หรือเครื่องมือต่าง ๆ ในด้านสิทธิมนุษยชนในภาพรวมของประเทศ และเพื่อให้มีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีกรอบแนวทางการดำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชนที่เป็นรูปธรรม มีการพัฒนาอย่างเป็นระบบ และสอดคล้องเป็นไปในทิศทางเดียวกันและมีความยั่งยืน วิธีการศึกษา (1) ศึกษาวิจัยเอกสาร ตำรา กฎหมายของไทยและต่างประเทศ 5 ประเทศ ได้แก่ สหราชอาณาจักร ออสเตรเลีย สวีเดน ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี (2) รับฟังความคิดเห็นผู้ที่เกี่ยวข้องในร่างกฎหมาย และข้อเสนอกลไกในการดำเนินงาน ในแต่ละภาค จำนวน 5 ภาค และรับฟังความเห็นของประชาชนในระดับชาติอีกหนึ่งครั้ง แล้วนำข้อคิดเห็นมาปรับปรุงร่างกฎหมายสิทธิมนุษยชน เพื่อเป็นกฎหมายและกลไกในการดำเนินงานตามวัตถุประสงค์ ผลการศึกษา 1. ได้รูปแบบของกฎหมายต่างประเทศที่มีกฎหมายกำหนดสิทธิมนุษยชนเป็นการเฉพาะและวางกลไกในการดำเนินงานเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนอย่างเป็นระบบ 2. ได้ร่างพระราชบัญญัติสิทธิมนุษยชน พ.ศ. .... ซึ่งมีสารบัญญัติในด้านสิทธิมนุษยชนที่สอดคล้องกับความตกลงระหว่างประเทศที่ไทยมีพันธกรณี รวมถึงมีกลไกการบริหาร การประสานงาน และการคุ้มครองป้องกันและเยียวยาผู้ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนและ การประสานงานเกี่ยวกับแผนสิทธิมนุษยชน การมีส่วนร่วมของประชาชน และการดำเนินงานตามพันธกรณี This Research project has two aims: firstly, to introduce laws, mechanisms and tools for state executive relating to human rights in domestic level. Secondly, to establish guidelines for states agencies doing human rights objectivity, sustainability and harmonize. Methodology: the research has done in terms of qualitative research by (1) reviewing: textbooks research reports laws of Thai and five countries, namely, United Kingdoms, United States of America, Australia, Sweden, Japan and Republic of Korea. (2) presenting draft law and legal measures in five seminars of experts and partnerships and get the last national conference in order to getting recommends to improve the final draft of human rights law for a tool to promote human rights plan. Research outcomes: 1. Model of foreign laws to promulgation human rights acts and to provide systematic human rights tools. 2. Obtaining draft human rights law which consist of human rights guaranteed based on International standards including administrative measures collaboration protection prevention and compensation for victims of human rights violations, collaboration for National Human rights plan, public participation and implantation of international human rights standard.th
dc.format.mimetypeapplication/pdfth
dc.language.isothath
dc.publisherสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์th
dc.rightsเอกสารฉบับนี้สงวนสิทธิ์โดยผู้ให้ทุน ห้ามทำซ้ำ คัดลอก หรือนำไปเผยแพร่ตัดต่อโดยมิได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรth
dc.subjectกฎหมายสิทธิมนุษยชนth
dc.subjectกลไกth
dc.subjectประสานงานภาครัฐth
dc.subjectHuman rights lawth
dc.subjectmechanismth
dc.subjectcooperation of states agenciesth
dc.titleขับเคลื่อนแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ กิจกรรมที่ 2 การศึกษาความเหมาะสมการตรากฎหมายรองรับกลไกขับเคลื่อนแผนสิทธิมนุษยชนth
dc.title.alternativeA Study of an Appropriate laws for Implementation of National Human Rights planth
dc.typeTextth
dcterms.accessRightsบุคคลทั่วไปสามารถเข้าถึงเอกสารนี้ได้th
dc.rights.holderกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพth
cerif.cfProj-cfProjId2563A00313th
mods.genreรายงานวิจัยth
turac.projectTypeโครงการที่ปรึกษาth
turac.researchSectorสาขากฎหมาย (Law sector : LW)th
turac.contributor.clientกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
turac.fieldOfStudyสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์th
cerif.cfProj-cfTitleขับเคลื่อนแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ กิจกรรมที่ 2 การศึกษาความเหมาะสมการตรากฎหมายรองรับกลไกขับเคลื่อนแผนสิทธิมนุษยชนth
cerif.cfProj-cfProjStatusสิ้นสุดโครงการth


Files in this item

Thumbnail

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record