Now showing items 1-10 of 10

    • type-icon

      การตรวจสอบ และประเมินเพื่อคัดเลือกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการบริหารจัดการที่ดี 

      โกวิทย์ พวงงาม (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2013)

      การศึกษาวิจัยเรื่อง การประเมินองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการปริหารจัดการที่ดี มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยการตรวจสอบข้อมูลการปฏิบัติราชการตามแบบประเมิน กับประเมินโครงการหรือกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมท้องถิ่น รวมทั้งการจัดลำดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ผ่านเกณฑ์ประเมิน สมควรที่จะได้รับรางวัล ระเบียบวิธีการประเมินเป็นการลงพื้นที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ที่ผ่านการประเมินผลการปฏิบัติราชการในแต่ละจังหวัด จำนวน 404 แห่ง เพื่อตรวจสอบเอกสารข้อมูลตามตัวชี้วัดการปฏิบัติงาน โดยการสุ่มตรวจ 6 ด้าน ได้แก่ 1) ตรวจสอบศูนย์ข้อมูลข่าวสาร ...
    • type-icon

      การประเมินองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อเข้ารับรางวัลพระปกเกล้าประจำปี 2565 

      รณรงค์ จันใด (สถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2023-02-10)

      เข้าดูเนื้อหาได้ที่ https://www.kpi.ac.th/knowledge/research/data/1318
    • type-icon

      การป้องกันและปราบปรามการทุจริตในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 

      สมคิด เลิศไพฑูรย์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2009)

      The study titled “the Prevention and Suppression of Corruption in Local Administration Organizations“ has four main objectives: 1) to inquire into the structure, background and the development of Local Administration Organizations, including the process as well as procedures of the procurements, the establishment of infra-structure, personnel management, and the certification of licenses operated by typical Local Administration Organizations in Thailand ; 2) to search for knowledge based on the experiences of other countries concerning the ...
    • type-icon

      การศึกษาผลการดำเนินงานการจ่ายเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด สู่ความพร้อมการถ่ายโอนภารกิจแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 

      ระพีพรรณ คำหอม (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2020-04-14)

      การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคิดเห็นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น(อปท.) ต่อผลการดำเนินงานการจ่ายเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด และการเตรียมความพร้อมการถ่ายโอนภารกิจโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดระหว่างกรมกิจการเด็กและเยาวชนกับกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ระเบียบวิธีการศึกษา เป็นการศึกษาแบบผสานวิธี (Mixed methods) ประกอบด้วย การวิจัยเชิงปริมาณ การวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรที่ศึกษา คือ ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีทั้งหมด 7,852 แห่ง ขนาดตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาทั้งสิ้น 1,135 คน และการวิจัยเชิงคุณภาพ เป็นการสนทนากลุ่มย่อย ...
    • type-icon

      การศึกษาวิเคราะห์ผลการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Local Performance Assessment : LPA) 

      ธัชเฉลิม สุทธิพงษ์ประชา (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-12-08)

      การประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Local Performance Assessment: LPA) ของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นเป็นเกณฑ์การประเมินประสิทธิภาพภาคบังคับที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกแห่งต้องได้รับการประเมินเป็นประจำทุกปีไม่ใช่โครงการประกวดเพื่อรับรางวัล จึงทำให้ LPA เป็นการประเมินประสิทธิภาพองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั่วประเทศที่มีความต่อเนื่อง สามารถสะท้อนจุดอ่อนในการปฏิบัติงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละแห่ง อันจะทำให้กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นในฐานะหน่วยงานที่มีหน้าที่ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถกำหนดแนวทาง ...
    • type-icon

      จัยการบริหารงานที่เป็นเลิศขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปี 2562 

      สายฝน สุเอียนทรเมธี (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2020-05-15)

      เข้าถึงข้อมูลได้ที่ http://kpi.ac.th/knowledge/research/data/10374
    • type-icon

      ประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น Integrity and Transparency Assessment ( ITA ) ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๘ จังหวัดร้อยเอ็ด 

      โกวิทย์ พวงงาม; ศุภสวัสดิ์ ชัชวาลย์; ปุณิกา อภิรักษ์ไกรศรี; รณรงค์ จันใด; ณัฏฐพัชร สโรบล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2016)

      โครงการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดร้อยเอ็ด (Integrity Transparency Assessment) ประจำปีงบประมาณ 2558 มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อประเมินผลระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เข้าร่วมโครงการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และนำผลการประเมินไปใช้ประโยชน์ในการกำหนดนโยบายการบริหารงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่อไป 2) เพื่อให้ได้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง/พัฒนาคุณธรรมและความโปร่งใสขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ 3) เพื่อสร้างภาพลักษณ์ของ ...
    • type-icon

      พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการและการบริการสาธารณะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Local Standard) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561 

      ทวิดา กมลเวชช (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-12-08)

      โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการและการบริการสาธารณะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Local Standard) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 จัดทำขึ้นเพื่อให้สอดรับกับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในปัจจุบันทั้งในแง่ของความซับซ้อนของการบริการสาธารณะ ศักยภาพและความสามารถ รวมถึงระเบียบ กฎหมายและข้อบังคับต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานทั้งสองด้านขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยมาตรฐานการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ เป็นการรวบรวมรายละเอียดเนื้อหาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการสาธารณภัยของประเทศไทยที่องอยู่กับพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 ...
    • type-icon

      ศึกษาความเหมาะสมการยกฐานะเทศบาลเมืองมาบตาพุดเป็นท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ 

      วุฒิสาร ตันไชย (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2012)

      Development of the industrial sector in Thailand has various direct affect to the Map Ta Pud Municipality, the location of a large industrial estate. The Map Ta Pud Municipality is a local government administration responsible for management of local issues. However, as a local municipality, govern by the Municipal Act B.C. 2496 (and its revisions) and the Organization and Administration Act and Amendment Act B.C. 2542, it has many limitations for its operations in such a special circumstance. The issues range from management flexibility, resource ...
    • type-icon

      ศึกษาวิเคราะห์ความเหมาะสมเพื่อกำหนดรูปแบบลักษณะการลงทุน และกรอบการอุดหนุน โครงการด้านโครงสร้างพื้นฐานและบริการระบบขนส่ง สำหรับส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 

      พัชรา พัชราวนิช; สกนธ์ วรัญญูวัฒนา; ศุภชัย ศรีสุชาติ; อาณัติ ลีมัคเดช; สุพจน์ ชววิวรรธน์; สุรพล นิติไกรพจน์; นครินทร์ เมฆไตรรัตน์; ดิชพงศ์ พงศ์ภัทรชัย; สุลักษมณ์ ภัทรธรรมมาศ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2015)

      การศึกษาวิเคราะห์ความเหมาะสมเพื่อกำหนดรูปแบบลักษณะการลงทุนและกรอบการอุดหนุน โครงการด้านโครงสร้างพื้นฐานและบริการระบบขนส่ง สำหรับส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พบว่า การลงทุนโครงการด้านโครงสร้างพื้นฐานและบริการระบบขนส่งมี 3 รูปแบบ คือ รัฐดำเนินการเอง รัฐร่วมลงทุนกับเอกชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินการเอง การวิเคราะห์เริ่มจาก 1. ศึกษาและวิเคราะห์อำนาจหน้าที่ตามกฎหมายของหน่วยงานต่างๆในภาครัฐ 2. การพัฒนาหลักเกณฑ์และรูปแบบการลงทุน โดยวิเคราะห์ความเป็นสาธารณะและวิเคราะห์ความเหมาะสมในการลงทุน 4 ขั้นตอน คือ ความจำเป็นของโครงการ ...