Now showing items 21-30 of 30

    • Thumbnail

      พัฒนาแอพพลิเคชั่นบนอุปกรณ์เคลื่อนที่สำหรับสนับสนุนการดำเนินธุรกิจ จำนวน 5 แอพพลิเคชั่น 

      ปาริชาต ชื่นวัฒนกุล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2016)
    • Thumbnail
    • type-icon

      วิเคราะห์ศักยภาพ SMEs เพื่อการอนุมัติสินเชื่อเพื่อฟื้นฟูกิจการ 

      ปาริชาต ชื่นวัฒนกุล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

      ตามที่กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ได้จัดทำโครงการวิเคราะห์ศักยภาพ SMEs เพื่อการอนุมัติสินเชื่อเพื่อฟื้นฟูกิจการขึ้น เพื่อทำหน้าที่ให้การช่วยเหลือผู้ประกอบการที่ประสบปัญหาทางธุรกิจจากปัจจัยต่างๆ ให้สามารถพลิกฟื้นธุรกิจ (Turn Around) โดยเฉพาะด้านการเงิน โดยได้จ้างสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นที่ปรึกษาดำเนินการวินิจฉัยศักยภาพของสถานประกอบการของผู้ประกอบการที่มีคุณสมบัติ ตรงตามหลักเกณฑ์ นำเสนอต่อคณะทำงานกลั่นกรองและคณะอนุกรรมการฟื้นฟูกิจการ ในการขอรับการอนุมัติเงินกองทุนส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม โดยมีวัตถุประสง ...
    • type-icon

      ศูนย์สนับสนุนและช่วยเหลือเอสเอ็มอี (SME Support Rescue Center) 

      ปาริชาต ชื่นวัฒนกุล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2018)

      ศูนย์ช่วยเหลือ SMEs (SME Rescue Center) ดำเนินงานโดยกระทรวงอุตสาหกรรม และความร่วมมือของหน่วยงานเครือข่าย 14 แห่ง เพื่อให้บริการข้อมูลและปรึกษาแนะนำ และเชื่อมโยงส่งต่อผู้รับบริการให้หน่วยงานเครือข่ายที่เกี่ยวข้องในการส่งเสริมและพัฒนา SMEs ทั้งในส่วนกลางและภูมิภาค โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อให้การช่วยเหลือ SMEs ที่ประสบปัญหาทางธุรกิจจากปัจจัยต่างๆ รวมทั้งทางการเงิน ให้สามารถพลิกฟื้นธุรกิจให้กลับมาดำเนินธุรกิจต่อไป 2) เพื่อให้มีหน่วยเชื่อมโยงการบริการ SMEs กับหน่วยงานเครือข่ายที่เกี่ยวข้องในการส่งเสริมและพัฒนา SMEs ทั้งในส่วนกลางและภูมิภาค ...
    • type-icon

      สร้างและพัฒนาผู้ประกอบการใหม่เชิงสร้างสรรค์และนวัตกรรม กิจกรรมบ่มเพาะวิสาหกิจ จำนวน 3 กิจการ 

      ปาริชาต ชื่นวัฒนกุล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2020-04-23)

      สำนักงานศูนย์วิจัยฯ ได้ดำเนินการประชาสัมพันธ์เพื่อเชิญชวนกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ โดยจัดทำจดหมายส่งตรงยังกลุ่มเป้าหมาย และประชาสัมพันธ์ผ่านเว็บไซต์ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ มีวิสาหกิจที่สมัครและผ่านการคัดเลือกเข้าร่วมโครงการ จำนวน 3 ราย โดยที่ปรึกษาได้ทำการประเมินศักยภาพและวินิจฉัยสถานประกอบการของผู้เข้ารับการบ่มเพาะ เพื่อวางแผนการบ่มเพาะหรือปรึกษาแนะนำเฉพาะด้านตามที่ผู้เข้ารับการบ่มเพาะต้องการจากการบ่มเพาะและให้คำปรึกษาแนะนำเชิงลึกในสถานประกอบการของผู้เข้ารับการบ่มเพาะแต่ละกิจการ จำนวน 60 man-hour มีผลลัพธ์เป็นไปตามวัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความส ...
    • Thumbnail

      สุดยอดเอสเอ็มอีจังหวัด (SME Provincial Champions) กลุ่ม SMEs ที่เพิ่งเริ่มดำเนินธุรกิจ (Start up) 

      ปาริชาต ชื่นวัฒนกุล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2016)
    • Thumbnail

      สุดยอดเอสเอ็มอีจังหวัด (SMEs Provincial Champions) กลุ่ม SMEs ที่เริ่มต้นธุรกิจ (Start Up), กลุ่ม SMEs มีศักยภาพในการตลาด (Rising Star) และกลุ่ม SMEs ที่อยู่ในช่วงฟื้นตัว (Turn Around) 

      ปาริชาต ชื่นวัฒนกุล; Chuenwatanakul, Parichat (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2016)
    • type-icon

      ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ไหมสู่สากล กิจกรรมส่งเสริมการรวมกลุ่มอุตสาหกรรม (Cluster) แปรรูปไหมอย่างยั่งยืน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2559 

      Chuenwatanakul, Parichat; ปาริชาต ชื่นวัฒนกุล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2016)

      การดำเนินงานกิจกรรมส่งเสริมการรวมกลุ่มอุตสาหกรรม (Cluster) แปรรูปไหมอย่างยั่งยืน ตามโครงการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ไหมสู่สากล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2559 จะมุ่งเน้นเพื่อให้คำปรึกษาแนะนำเชิงลึกแก่ผู้ประกอบการ ให้ความช่วยเหลือสมาชิกกลุ่มคลัสเตอร์ในด้านวัตถุดิบ การตลาด ผลิตภัณฑ์ไหมสร้างสรรค์ และเฉพาะด้านตามความต้องการของผู้ประกอบการไหม อาทิ การจัดการ ประหยัดพลังงาน การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ฯลฯ ณ สถานที่ผู้ผลิต/ผู้ประกอบการไหมในพื้นที่จังหวัดสุรินทร์ โดยคำนึงถึงศักยภาพของกลุ่มผู้ประกอบการไหมที่เข้าร่วมโครงการ และสอดคล้องกับความต้องการของผู้ประกอบการ ...
    • type-icon

      เศรษฐกิจสร้างสรรค์นวัตกรรม OTOP ศรีวิชัย 

      ปาริชาต ชื่นวัฒนกุล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2015)

      จากการที่รัฐบาลมีนโยบายในการนำอุตสาหกรรมวัฒนธรรมมาใช้ขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ จังหวัดสุราษฎร์ธานี จึงได้จ้างสถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นที่ปรึกษาในการนำวัฒนธรรมศรีวิชัย มาสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ สร้างมูลค่าเพิ่มในเชิงอุตสาหกรรมวัฒนธรรมอย่างเป็นรูปธรรม จากการดำเนินโครงการเศรษฐกิจสร้างสรรค์นวัตกรรม OTOP ศรีวิชัยของสถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มีผู้ประกอบการกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ จำนวน 13 ราย โดยได้รับการให้คำปรึกษาแนะนำและร่วมกับทีมที่ปรึกษาในการดำเนินงานตามแผนพัฒนาแล้วเ ...
    • type-icon

      โครงการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ให้กับอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูป กลุ่มจังหวัด ภาคกลางตอนกลาง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 : รายงานฉบับสมบูรณ์ 

      ปาริชาต ชื่นวัฒนกุล; ธเนศ สำเริงเวทย์; กิตติพงษ์ ห่วงรักษ์; นลินี ทองแท้ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2012)

      Central region is the golden cradle of Thai agriculture where abundant agricultural products are made. Numerous kinds of agricultural processing goods are produced in many villages yet there are few channels to widely distribute. This participation research was conducted to broaden SME entrepreneurs’ horizon of value-added marketing for their products. Participants were chosen from 5 provinces, namely, Nakornnayok, Chachoengsao, Sakaeo, Samutprakarn and Prachinburi to attend the preliminary workshop focusing on product design, packaging, trademark ...