Show simple item record

dc.contributor.authorธันยพร สุนทรธรรมth
dc.date.accessioned2020-11-06T08:55:25Z
dc.date.available2020-11-06T08:55:25Z
dc.date.issued2563-11-06
dc.identifier.urihttps://repository.turac.tu.ac.th/handle/6626133120/926
dc.description.abstractงานวิจัยฉบับนี้เป็นงานวิจัยเชิงปริมาณมีวัตถุประสงค์เพื่อเก็บข้อมูลอาชญากรรมของประเทศไทยในประเด็นลักษณะของเหยื่ออาชญากรรม ลักษณะผู้กระทำผิด พฤติการณ์แห่งคดี เวลาและสถานที่เกิดเหตุ ความเสียหายและผลกระทบจากอาชญากรรมการรายงานเหตุต่อเจ้าหน้าที่ การตอบสนองต่ออาชญากรรมที่ได้รับแจ้งของเจ้าหน้าที่ตำรวจ โดยทำการเก็บข้อมูล 440 ตัวอย่างต่อกองบัญชาการ (ตั้งอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบของส่วนป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมของสำนักงานตำรวจแห่งชาติทั้ง 11 หน่วยงานครอบคลุมทั่วทั้งประเทศไทย ได้แก่ กองบัญชาการตำรวจนครบาล, กองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 1-9 และศูนย์ปฏิบัติการตำรวจชายแดนภาคใต้) ซึ่งเมื่อรวมทั่วทั้งประเทศแล้วได้จำนวนตัวอย่างทั้งหมด 4,549 ตัวอย่าง ผลการสำรวจพบว่ามีผู้ตกเป็นเหยื่อทั้งสิ้น 184 ตัวอย่าง จาก 4,549 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 4.04 ของตัวอย่างทั้งหมด โดยตกเป็นเหยื่ออาชญากรรมในคดีถูกหลอกลวง หรือการแอบอ้างใช้ข้อมูล/เอกสารส่วนตัวมากที่สุด คือ จำนวน 87 คน รองลงมาคือ คดีประทุษร้ายต่อทรัพย์สินจำนวน 66 คน กลุ่มคดีอาชญากรรมรูปแบบใหม่จำนวน 18 คน กลุ่มคดีประทุษร้ายต่อชีวิตร่างกายจำนวน 17 คน และ กลุ่มคดีกระทำทางเพศจำนวน 2 คน ตามลำดับ ผู้ประสบเหตุอาชญากรรมเพียงร้อยละ 7.79 ที่แจ้งเหตุต่อเจ้าหน้าที่ตำรวจ นอกจากนี้คณะผู้วิจัยได้ทำการเปรียบเทียบสถิติการแจ้งเหตุของตำรวจกับผลการสำรวจครั้งนี้ และเสนอข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อใช้แก้ปัญหาอาชญากรรมให้ตรงกับสภาพความเป็นจริงมากยิ่งขึ้น This quantitative research aimed to collect the crime and victim information from the sample of Thai population throughout the country. The survey collected information on both reported and unreported crime to the police to assess the dark figure on crime. The survey sample size is 440 households for each area (Metropolitan Police Bureau, Provincial Police Region 1 – 9 and Southern Border Provinces Police Operation Center). The total of sample for every province are 4,549 households. According to the surveys, approximately 184 survey respondents or four percent are victims. Most victims (47.28 percent) faced the fraud and identity theft crime followed by property crime (35.87 percent), non-traditional crime (9.78 percent), and violent crime (9.24 percent). The sex crime had only few victims, 1.09 percent. Only 7.79 percent of victims reported to police when they experienced criminal problems. We provided a comparision between the reported crime statistics from the police and our survey results. Policy recommendations are also discussed.th
dc.format.mimetypeapplication/pdfth
dc.language.isothath
dc.publisherสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์th
dc.rightsเอกสารฉบับนี้สงวนสิทธิ์โดยผู้ให้ทุน ห้ามทำซ้ำ คัดลอก หรือนำไปเผยแพร่ตัดต่อโดยมิได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรth
dc.subjectอาชญากรรมth
dc.subjectเหยื่อth
dc.subjectประเทศไทยth
dc.subjectCrimeth
dc.subjectVictimth
dc.subjectSurveyth
dc.subjectThailandth
dc.titleสำรวจข้อมูลสถิติอาชญากรรมภาคประชาชนth
dc.title.alternativeCrime Victimization Surveyth
dc.typeTextth
dcterms.accessRightsบุคคลทั่วไปสามารถเข้าถึงเอกสารนี้ได้th
dc.rights.holderสำนักงานกิจการยุติธรรมth
cerif.cfProj-cfProjId2562A00066th
mods.genreรายงานวิจัยth
turac.projectTypeโครงการที่ปรึกษาth
turac.researchSectorสาขาการวิจัยและการประเมินผล (Research and Evaluation sector : RE)th
turac.contributor.clientสำนักงานกิจการยุติธรรม
turac.fieldOfStudyสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์th
cerif.cfProj-cfTitleสำรวจข้อมูลสถิติอาชญากรรมภาคประชาชนth
cerif.cfProj-cfProjStatusสิ้นสุดโครงการth


Files in this item

Thumbnail

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record