Now showing items 1-3 of 3

    • type-icon

      การสร้างทางเลือกที่เหมาะสมด้วยมาตรการไม่คุมขังกับผู้ต้องขังหญิงและการหลีกเลี่ยงการใช้โทษจำคุก และการสร้างความฉลาดรู้ทางกฎหมาย ตามข้อกำหนดกรุงเทพฯ 

      ศักดิ์ชัย เลิศพานิชพันธุ์; มาดี ลิ่มสกุล; ชลธิชา พันธ์พานิช (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2014)

      การศึกษาการสร้างทางเลือกที่เหมาะสมด้วยมาตรการไม่คุมขังผู้หญิงและการหลีกเลี่ยงการใช้โทษจำคุกและการสร้างความฉลาดรู้ทางกฎหมาย ตามข้อกำหนดกรุงเทพฯ (Bangkok Rules) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางมาตรการในการสร้างทางเลือกที่เหมาะสมด้วยมาตรการไม่คุมขังสำหรับผู้ต้องขังหญิง ศึกษาแนวทาง มาตรการที่เหมาะสมในการลดระยะเวลาการจำคุกของผู้ต้องขังหญิง ศึกษาและทำให้เกิดการเข้าถึงความยุติธรรมในทุกขั้นตอนของกระบวนการยุติธรรมทางอาญา อีกทั้งเพื่อสร้างกระบวนการให้ความรู้ทางกฎหมายที่จำเป็นสำหรับผู้ต้องขัง และการให้คำปรึกษาทางกฎหมายแก่ผู้ต้องขัง และท้ายสุดได้แก่ แสวงหาแนวทางแก้ไข ...
    • type-icon

      ศึกษาสถานการณ์ความผิดด้านยาเสพติดของผู้ต้องขังหญิงในมิติด้านจิตสังคม ฐานความผิด และผลที่ได้รับจากกระบวนการยุติธรรม 

      อภิญญา เวชยชัย; วิไลภรณ์ โคตรบึงแก; เสาวธาร โพธิ์กลัด (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2015)

      การศึกษาสถานการณ์ความผิดด้านยาเสพติดของผู้ต้องขังหญิงในมิติด้านจิตสังคม ฐานความผิด และผลที่ได้รับจากกระบวนการยุติธรรมนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อ (1) ศึกษาข้อมูลและสถานการณ์ความผิดด้านยาเสพติดของผู้ต้องขังหญิงในมิติด้านจิตสังคม (2) ศึกษาข้อมูลและฐานความผิดที่เกี่ยวข้องกับคดีความของผู้ต้องขังหญิงที่เกี่ยวข้องกับคดียาเสพติด และ (3) ศึกษาบทบาทของผู้ต้องขังหญิงที่เกี่ยวข้องกับคดียาเสพติด รวมถึงผลที่ได้รับจากกระบวนการยุติธรรม โดยวิธีการศึกษาใช้วิธีวิทยาแบบผสานวิธีวิทยาทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพเพื่อให้ผลการศึกษาบรรลุตามวัตถุประสงค์ดังกล่าว ...
    • type-icon

      เพื่อส่งเสริมและปรับกระบวนทัศน์ของสังคมต่อผู้ต้องขังหญิง 

      อภิญญา เวชยชัย (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2013)

      การศึกษาวิจัยเชิงปฎิบัติการเพื่อส่งเสริมกระบวนทัศน์ของสังคมที่มีต่อผู้ต้องขังหญิง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงรูปแบบ แนวทางในการยอมรับและให้โอกาสผู้ต้องขังหญิงเพื่อกลับคืนสู่สังคม เพื่อกำหนดแนวทางในการปรับกระบวนทัศน์ของสังคมที่ให้โอกาสผู้ต้องขังหญิง พื้นที่เรือนจำจังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีการทำบันทึกร่วมมือ (MOU) ระหว่างกรมราชทัณฑ์ผ่านเรือนจำจังหวัดพระนครศรีอยุธยากับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แต่ขาดกลไกในการขับเคลื่อนการปฎิบัติและขาดหน่วยประสานกำกับติดตามอย่างต่อเนื่อง ทำให้รูปธรรมของความร่วมมือขาดชะงักและไม่สามารถขยายผลได้ กระบวนทัศน์ของชุมชนต่อผู ...