Now showing items 1-3 of 3

    • Thumbnail

      การศึกษาอำเภอต้นแบบในการจัดบริการสาธารณะเพื่อการบริการประชาชนแบบเบ็ดเสร็จ (Government outlet) 

      นครินทร์ เมฆไตรรัตน์; อรทัย ก๊กผล; ดวงมณี เลาวกุล; ศุภสวัสดิ์ ชัชวาลย์; วสันต์ เหลืองประภัสร์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2005)

      การวิจัยนี้เป็นการวิจัยพื้นฐานแบบมีทิศทางเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ในเรื่องการจัดการบริการประชาชนของรัฐทั้งในส่วนของรัฐบาลกลางและท้องถิ่นโดยศึกษาเปรียบเทียบระหว่างประเทศสหราชอาณาจักร ญี่ปุ่น ออสเตรเลียและประเทศไทย วิเคราะห์และจำแนกงานบริการประชาชนเป็น งานประเภท counter service, service link, off-house service หรือ in-house service ศึกษาความเป็นไปได้ในการมอบให้อำเภอให้บริการงาน counter service และเสนอแนะรูปแบบหน่วยงานของรัฐเพื่อบริการประชาชนแบบเบ็ดเสร็จในระดับอำเภอ
    • type-icon

      พัฒนาระบบการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการเพื่อรองรับการเป็นเมืองที่มีศักยภาพเด่นเพื่อเชื่อมโยงสู่อาเซียน 

      นครินทร์ เมฆไตรรัตน์; Mektrairat, Nakharin (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2014)

      โครงการพัฒนาระบบการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการเพื่อรองรับการเป็นเมืองที่มีศักยภาพเด่น เพื่อเชื่อมโยงสู่อาเซียน เป็นโครงการที่มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษา วิเคราะห์ศักยภาพ สภาพปัญหาและอุปสรรคของระบบบริหารจัดการจังหวัดในด้านต่าง ๆ รวมถึงศึกษาเชิงเปรียบเทียบกับรูปแบบและการพัฒนาระบบบริหารจัดการที่ดีของความเป็นเมืองสำคัญที่มีศักยภาพ เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการกำหนดรูปแบบ และแนวทางวิธีการพัฒนาระบบบริหารจัดการ รวมถึงกลไกการขับเคลื่อนจังหวัดให้สามารถดำเนินงานบรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ในระดับพื้นที่ และ 2) กำหนดรูปแบบการพัฒนาโครงสร้างและระบบบ ...
    • type-icon

      ศึกษาวิเคราะห์ความเหมาะสมเพื่อกำหนดรูปแบบลักษณะการลงทุน และกรอบการอุดหนุน โครงการด้านโครงสร้างพื้นฐานและบริการระบบขนส่ง สำหรับส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 

      พัชรา พัชราวนิช; สกนธ์ วรัญญูวัฒนา; ศุภชัย ศรีสุชาติ; อาณัติ ลีมัคเดช; สุพจน์ ชววิวรรธน์; สุรพล นิติไกรพจน์; นครินทร์ เมฆไตรรัตน์; ดิชพงศ์ พงศ์ภัทรชัย; สุลักษมณ์ ภัทรธรรมมาศ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2015)

      การศึกษาวิเคราะห์ความเหมาะสมเพื่อกำหนดรูปแบบลักษณะการลงทุนและกรอบการอุดหนุน โครงการด้านโครงสร้างพื้นฐานและบริการระบบขนส่ง สำหรับส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พบว่า การลงทุนโครงการด้านโครงสร้างพื้นฐานและบริการระบบขนส่งมี 3 รูปแบบ คือ รัฐดำเนินการเอง รัฐร่วมลงทุนกับเอกชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินการเอง การวิเคราะห์เริ่มจาก 1. ศึกษาและวิเคราะห์อำนาจหน้าที่ตามกฎหมายของหน่วยงานต่างๆในภาครัฐ 2. การพัฒนาหลักเกณฑ์และรูปแบบการลงทุน โดยวิเคราะห์ความเป็นสาธารณะและวิเคราะห์ความเหมาะสมในการลงทุน 4 ขั้นตอน คือ ความจำเป็นของโครงการ ...