Now showing items 1-4 of 4

    • type-icon

      ค่าสำรวจและประเมินสภาพโครงข่ายทางหลวงเพื่อเพิ่มประสิทธิผลการใช้จ่ายงบประมาณบำรุงรักษาทางหลวงในระยะยาว ปี 2564 

      อุรุยา วีสกุล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2565-01-19)

      กรมทางหลวง เป็นหน่วยงานหลักที่ต้องดูแลโครงข่ายทางหลวงทั่วประเทศ ปัจจุบันมีระยะทางในความรับผิดชอบประมาณ 76,200.640 กิโลเมตร (ต่อ 2 ช่องจราจร) โดยแบ่งเป็นทางบำรุง 74,740.721 กิโลเมตร ซึ่งประกอบด้วยผิวลาดยางประมาณ 67,921.906 กิโลเมตร ทางผิวคอนกรีตประมาณ 6,777.792 กิโลเมตร และทางผิวลูกรังประมาณ 41.023 กิโลเมตร นอกจากนี้ยังมีทางก่อสร้างและทางรักษาสภาพอีก 1,450.684 กิโลเมตร (ข้อมูลบัญชีลักษณะผิวทาง ณ วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2564) ข้อมูลระยะทางดังกล่าว มีการเปลี่ยนแปลงทุกปีและเป็นการเปลี่ยนแปลงเชิงเพิ่มระยะทาง เนื่องมาจากสาเหตุของการพัฒนาประสิทธิภาพโดยก ...
    • type-icon

      ตรวจสอบและประเมินโครงสร้างสะพานกรมทางหลวง 

      สายันต์ ศิริมนตรี (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2018)

      รายงานฉบับนี้นำเสนอผลการตรวจวัดที่เป็นมาตรการหนึ่งในการวางแผนการเคลื่อนผ่านรถบรรทุกน้ำหนักพิเศษเพื่อขนส่งอุปกรณ์ Generator สำหรับนำไปก่อสร้างโรงงานกำเนิดไฟฟ้าไปยังประเทศ สปป. ลาว ตามสายทางที่ได้ขออนุญาตพิเศษจากกรมทางหลวง เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาการใช้งานได้อย่างปลอดภัย ทั้งนี้ในขั้นต้นได้มีการวางเส้นทางการเดินรถผ่านสะพานอันประกอบไปด้วย สะพานข้ามแม่น้ำวังทอง Box Beam - Span Test 10 ม. , สะพานข้ามแม่น้ำแควน้อย I-Girder - Span Test 30 ม., สะพานข้ามแม่น้ำแควน้อย Slab Type - Span Test 10 ม., สะพานข้ามคลองตรอน กม. 25+971 Plank Slab - Span ...
    • type-icon

      สำรวจและวิเคราะห์สภาพทางหลวงผิวลาดยางและผิวคอนกรีต 

      อุรุยา วีสกุล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2015)

      ปัจจุบันกรมทางหลวงมีโครงข่ายทางหลวงทั่วประเทศเป็นระยะทางในความรับผิดชอบกว่า 70,077.043 กิโลเมตร (ต่อ 2 ช่องจราจร) และด้วยสภาพความเสียหายของถนนในโครงข่ายของกรมทางหลวงมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา กรมทางหลวงจึงต้องทำการสำรวจสภาพเส้นทางในความรับผิดชอบเป็นประจำทุกปี และนำข้อมูลสำรวจสภาพทางมาจัดทำเป็นระบบฐานข้อมูลกลาง (Central Road Database, CRDB) และระบบสารสนเทศโครงข่ายทางหลวง (Road Net) เพื่อใช้สำหรับการสืบค้นวิเคราะห์ การให้บริการข้อมูลต่อหน่วยงานอื่น และการเชื่อมโยงกับระบบสารสนเทศอื่น ๆ โดยการนำเข้าข้อมูลการสำรวจที่กรมทางหลวงได้นำระบบบริหารงานบำรุงทาง ...
    • Thumbnail

      โครงการศึกษาและวิเคราะห์ลักษณะสภาพความเสียหายของทางพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ : รายงานขั้นสุดท้าย 

      อุรุยา วีสกุล; พิสณฑ์ อุดมวรรัตน์; ชินชัย มหาแสน; วีรยา ฉิมอ้อย; กิตติยง อัศวรุจานนท์; สืบศักดิ์ นันทวานิช; เทอดศักดิ์ รองวิริยะพานิช; อำนาจ คำพานิช; กีรติ เสนปิ่น; สิทธิศักดิ์ แจ่มนาม; สราวุธ ลอยวานิช; ดวงทิพย์ ทองมี; Dinoy, Antonio P., Jr. (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2007)

      วัตถุประสงค์ของรายงานจัดทำขึ้นเพื่อเสนอแผนพัฒนาระบบบริหารงานบำรุงทางของกรมทางหลวงให้เหมาะสมทั้งทางด้านวิศวกรรมและเศรษฐศาสตร์ จัดทำข้อมูลสภาพความเสียหายของผิวจราจรในเขตพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือให้สามารถบันทึกลงฐานข้อมูลของระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ ตลอดจนจัดทำข้อมูลให้นำไปวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมวิเคราะห์สภาพความเสียหายและวิธีซ่อมบำรุงทางได้