Now showing items 1-16 of 16

    • type-icon

      การขยายผลการส่งเสริมการจัดทำคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กรในภาคอุตสาหกรรม ระยะที่ 4 

      หาญพล พึ่งรัศมี (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2015)

      ปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภาวะโลกร้อน (Global Warming) เป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อสังคมโลกอย่างรุนแรงและต่อเนื่องมากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งปัญหาภาวะโลกร้อนนั้น เกิดจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ที่มากเกินไปสู่ชั้นบรรยากาศ ดังนั้นการจัดทำคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กร (Carbon Footprint for Organization) จึงเป็นแนวคิดในการคำนวณปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ได้ เพื่อให้ทราบถึงปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยออกมาทั้งทางตรงและทางอ้อม การจัดทำคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กรเป็นการวัดผลกระทบด้านภาวะโลกร้อนที่ปล่อยจากกิจกรรม ...
    • type-icon

      การทวนสอบคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กร 

      หาญพล พึ่งรัศมี (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2018)

      ปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภาวะโลกร้อน (Global Warming) เป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อสังคมโลกอย่างรุนแรงและต่อเนื่องมากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งปัญหาภาวะโลกร้อนนั้น เกิดจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ที่มากเกินไปสู่ชั้นบรรยากาศ ดังนั้นการจัดทาคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กร (Carbon Footprint for Organization) จึงเป็นแนวคิดในการคำนวณปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ได้ เพื่อให้ทราบถึงปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยออกมาทั้งทางตรงและทางอ้อม การจัดทำคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กรเป็นการวัดผลกระทบด้านภาวะโลกร้อนที่ปล่อยจากกิจกรรม ...
    • type-icon

      การทวนสอบคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กร 

      หาญพล พึ่งรัศมี (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

      ปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภาวะโลกร้อน (Global Warming) เป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อสังคมโลกอย่างรุนแรงและต่อเนื่องมากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งปัญหาภาวะโลกร้อนนั้น เกิดจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ที่มากเกินไปสู่ชั้นบรรยากาศ ดังนั้นการจัดทำคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กร (Carbon Footprint for Organization) จึงเป็นแนวคิดในการคำนวณปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ได้ เพื่อให้ทราบถึงปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยออกมาทั้งทางตรงและทางอ้อม การจัดทำคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กรเป็นการวัดผลกระทบด้านภาวะโลกร้อนที่ปล่อยจากกิจกรรม ...
    • type-icon

      การประเมินปริมาณก๊าซเรือนกระจกในชั้นบรรยากาศด้วยเทคโนโลยีการสำรวจข้อมูลระยะไกล (Remote Sensing) ระยะที่ 2 

      วาสินี วรรณศิริ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

      โครงการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำชุดข้อมูลสถานการณ์ความเข้มข้นก๊าซเรือนกระจกในระดับชั้นบรรยากาศด้วยข้อมูลการสำรวจระยะไกลจากดาวเทียม โดยใช้เทคนิควิธีแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ วิเคราะห์ผ่านโปรแกรมระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ ซึ่งใช้ข้อมูลดาวเทียม GOSAT ประเมินความเข้มข้นของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ระหว่างเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2552 – ตุลาคม พ.ศ. 2556 จำนวน 55 เดือน และก๊าซมีเทน ระหว่างเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2552 – กันยายน พ.ศ. 2556 จำนวน 52 เดือน และใช้ข้อมูลดาวเทียม OCO-2 ประเมินความเข้มข้นของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ระหว่างเดือนกันยายน ปี 2557 – เมษายน ปี 2560 ...
    • Thumbnail

      ขับเคลื่อนและเสริมสร้างศักยภาพเพื่อบูรณาการแผนการดำเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 

      บัณฑิต ลิ้มมีโชคชัย; รัชต์นรินทร์ นิติศรวุฒิ; Bundit Limmeechokchai; Rachnarin Nitisoravut (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)
    • type-icon

      จัดทำคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กร บริษัท การบินกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) ประจำปี 2560 

      หาญพล พึ่งรัศมี (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

      ปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภาวะโลกร้อน (Global Warming) เป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อสังคมโลกอย่างรุนแรงและต่อเนื่องมากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งปัญหาภาวะโลกร้อนนั้น เกิดจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ที่มากเกินไปสู่ชั้นบรรยากาศ ดังนั้นการจัดทำคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กร (Carbon Footprint for Organization) จึงเป็นแนวคิดในการคำนวณปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ได้ เพื่อให้ทราบถึงปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยออกมาทั้งทางตรงและทางอ้อม การจัดทำคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กรเป็นการวัดผลกระทบด้านภาวะโลกร้อนที่ปล่อยจากกิจกรรม ...
    • type-icon

      จัดทำคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กร ประจำปี 2559 

      หาญพล พึ่งรัศมี (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

      ปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภาวะโลกร้อน (Global Warming) เป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อสังคมโลกอย่างรุนแรงและต่อเนื่องมากขึ้นเรื่อย ๆ มีสาเหตุจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ที่มากเกินไปสู่ชั้นบรรยากาศ ซึ่งการจัดทำคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กร (Carbon Footprint for Organization) เป็นแนวคิดในการคำนวณปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ เพื่อให้ทราบถึงปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยออกมาทั้งทางตรงและทางอ้อม คำนวณให้อยู่ในหน่วย “คาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า” (CO2 equivalent) ซึ่งทำให้ทราบว่าองค์กรนั้นปล่อยก๊าซเรือนกระ ...
    • type-icon

      ทวนสอบคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กร 

      อุศุภรัตน์, ไพรัช (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

      ปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภาวะโลกร้อน (Global Warming) เป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อสังคมโลกอย่างรุนแรงและต่อเนื่องมากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งปัญหาภาวะโลกร้อนนั้น เกิดจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ที่มากเกินไปสู่ชั้นบรรยากาศ ดังนั้นการจัดทำคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กร (Carbon Footprint for Organization) จึงเป็นแนวคิดในการคำนวณปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ได้ เพื่อให้ทราบถึงปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยออกมาทั้งทางตรงและทางอ้อม การจัดทำคาร์บอนฟุตริ้นท์ องค์กรเป็นการวัดผลกระทบด้านภาวะโลกร้อนที่ปล่อยจากกิจกรรม ...
    • type-icon

      ทวนสอบคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กร (CFO) 

      ไพรัช อุศุภรัตน์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

      ปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภาวะโลกร้อน (Global Warming) เป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อสังคมโลกอย่างรุนแรงและต่อเนื่องมากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งปัญหาภาวะโลกร้อนนั้น เกิดจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ที่มากเกินไปสู่ชั้นบรรยากาศ ดังนั้นการจัดทำคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กร (Carbon Footprint for Organization) จึงเป็นแนวคิดในการคำนวณปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ได้ เพื่อให้ทราบถึงปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยออกมาทั้งทางตรงและทางอ้อม การจัดทำคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กรเป็นการวัดผลกระทบด้านภาวะโลกร้อนที่ปล่อยจากกิจกรรม ...
    • type-icon

      ทวนสอบคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กร (CFO) บ.เสริมสุข จำกัด (มหาชน) 

      ไพรัช อุศุภรัตน์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

      ปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภาวะโลกร้อน (Global Warming) เป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อสังคมโลกอย่างรุนแรงและต่อเนื่องมากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งปัญหาภาวะโลกร้อนนั้น เกิดจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ที่มากเกินไปสู่ชั้นบรรยากาศ ดังนั้นการจัดทำคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กร (Carbon Footprint for Organization) จึงเป็นแนวคิดในการคำนวณปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ได้ เพื่อให้ทราบถึงปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยออกมาทั้งทางตรงและทางอ้อม การจัดทำคาร์บอนฟุตริ้นท์ องค์กรเป็นการวัดผลกระทบด้านภาวะโลกร้อนที่ปล่อยจากกิจกรรม ...
    • type-icon

      ทวนสอบคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กร บริษัท กรุงเทพซินธิติกส์ จำกัด 

      หาญพล พึ่งรัศมี (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2018)

      ปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภาวะโลกร้อน (Global Warming) เป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อสังคมโลกอย่างรุนแรงและต่อเนื่องมากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งปัญหาภาวะโลกร้อนนั้น เกิดจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ที่มากเกินไปสู่ชั้นบรรยากาศ ดังนั้นการจัดทาคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กร (Carbon Footprint for Organization) จึงเป็นแนวคิดในการคำนวณปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ได้ เพื่อให้ทราบถึงปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยออกมาทั้งทางตรงและทางอ้อม การจัดทำคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กรเป็นการวัดผลกระทบด้านภาวะโลกร้อนที่ปล่อยจากกิจกรรม ...
    • type-icon

      ทวนสอบคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กร (CFO) 

      หาญพล พึ่งรัศมี; Harnpon Phungrassami (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2015)

      Nowadays, change and Global Warming are regarded as problems which impact on the earth and environment drastically and more and more increasingly. Global Warming is primarily a problem of too much Greenhouse gas emissions from human activities in the atmosphere. Carbon Footprint for Organization is the concept for calculating the amount of Greenhouse gases produced from human activities for the purpose of measuring direct and indirect Greenhouse gases emission. Carbon Footprint for Organization is also a measurement method of Global Warming impacts ...
    • type-icon

      ประเมินปริมาณก๊าซเรือนกระจกจากการใช้ประโยชน์ที่ดินระดับจังหวัด ด้วยเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ 

      วาสินี วรรณศิริ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-03-06)

      โครงการวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและพัฒนาระบบการติดตามการใช้ประโยชน์ที่ดินและการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินของจังหวัดที่เข้าร่วมในโครงการพัฒนาแนวทางลดก๊าซเรือนกระจกระดับจังหวัด ด้วยเทคโนโลยีการสำรวจข้อมูลระยะไกล และจัดทำชุดข้อมูลการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการใช้ประโยชน์ที่ดินและการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินจำนวน 3 ช่วงเวลา ในปี 2558 – 2559 ปี 2559 – 2560 และปี 2560-2561 โดยดำเนินการใน 4 จังหวัด ได้แก่ ชลบุรี สระแก้ว นครพนม และสตูล การประเมินปริมาณก๊าซเรือนกระจกจากการเปลี่ยนแปลงปริมาณคาร์บอนสะสมของชีวมวล วิเคราะห์จากการใช้ประโยชน์ที่ดิน ...
    • type-icon

      ผู้ทวนสอบข้อมูลคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์ 

      หาญพล พึ่งรัศมี (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2015)

      Thailand Greenhouse Gas Management Organization (Public Organization) or TGO has developed Carbon Footprint of Products Label since 2009 to provide consumers more alternatives in decision making and chances to participate for Greenhouse Gas Management and motivate Thai industries to develop their production process to increase productivity and competitiveness in the world market. To apply Carbon Footprint Result from the beginning phase in production process improvement and reduction of Greenhouse Gas emission, Thailand Greenhouse Gas Management ...
    • Thumbnail

      ผู้ทวนสอบข้อมูลคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์ 

      หาญพล พึ่งรัศมี; Phungrassami, Harnpon (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2016)
    • type-icon

      พัฒนารูปแบบการแสดงเจตจำนงค์ Mitigation Pledge และแนวทางการดำเนินงานลดก๊าซเรือนกระจกที่เหมาะสมของประเทศไทย (NAMAs) ในภาคพลังงาน (สาขาผลิตไฟฟ้าการใช้พลังงานในอุตสาหกรรม และอาคารควบคุม) 

      บัณฑิต ลิ้มมีโชคชัย (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2013)

      Nationally Appropriate Mitigation Actions (NAMAs) was first introduced in the “Bali Action Plan” in COP13 in 2008. There are two types of NAMAs: 1) Domestically Supported NAMAs and 2) Internationally supported NAMAs. Both need measurable, reportable and verifiable (MRV) processes to ensure the quantified emission reduction. Thailand has high potential of GHG emission reduction by both domestically supported NAMAs and internationally supported NAMAs in 2020 about 23-73 million ton CO2 or approximately accounted for 7-20% from the total GHG emissions ...