Now showing items 1-3 of 3

    • type-icon

      การขับเคลื่อนกองทุนด้านการพัฒนาสังคมในประเทศไทย 

      อัญมณี บูรณกานนท์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-03-20)

      การศึกษาเรื่อง “การขับเคลื่อนกองทุนด้านการพัฒนาสังคมในประเทศไทย” มีวัตถุประสงค์ของการศึกษา 3 ประการ ประการที่ 1 เพื่อศึกษาองค์ความรู้เกี่ยวกับรูปแบบการบริหารจัดการกองทุนด้านการพัฒนาสังคมที่เหมาะสมในประเทศไทย ประกอบด้วย กองทุนคุ้มครองเด็ก กองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม กองทุนผู้สูงอายุ กองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ และกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ประการที่ 2 เพื่อศึกษาบทเรียนการบริหารจัดการกองทุนด้านการพัฒนาสังคมในประเทศไทยที่จัดตั้งโดยภาครัฐในต่างประเทศ และประการที่ 3 เพื่อเสนอรูปแบบทางเลือกในการบริหารจัดการกองทุนด้านการพัฒนาสังคมประเทศไทย ...
    • Thumbnail

      ทุนทางสังคมในประเทศไทย 

      อาณัติ ลีมัคเดช; ธีระ สินเดชารักษ์; นวลนภา ธนศักดิ์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2010)

      The objective of this paper is to introduce how to measure social capital in Thailand. In addition, the paper proves the significant role of social capital on socio-economic variables such as crime, health, income. Using the survey of the National Statistical Office in September 2007, the paper decomposes Thai social capital into five components, namely social cooperation, trust, social support, family ties, and social network.
    • Thumbnail

      โครงการนำร่องเฝ้าระวังและเตือนภัยทางสังคม (ศึกษาออกแบบและพัฒนาระบบการเฝ้าระวังและเตือนภัยทางสังคม) : รายงานผลการศึกษาฉบับสมบูรณ์ (final report) 

      สมคิด เลิศไพฑูรย์; นคร เสรีรักษ์; ศุภวัฒนากร วงศ์ธนวสุ; ภรณี ดีราษฎร์วิเศษ; จินตนา เนตรทัศน์; พัชรี ย่ำเที่ยง; กิตติพงศ์ กมลธรรมวงศ์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2010)

      รายงานการวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาออกแบบและจัดทำข้อเสนอแนะในการพัฒนาระบบการเฝ้าระวังและเตือนภัยทางสังคมให้เป็นกลไกสำคัญของงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ และเพื่อศึกษาวิเคราะห์แนวโน้มในอนาคตสำหรับการแก้ไขปัญหาสังคมไทยในภาพรวม เครื่องมือที่ใช้รวบรวมข้อมูลในการวิจัย ได้แก่ การจัดประชุมกลุ่มย่อย การสัมภาษณ์เชิงลึก และการเก็บข้อมูลภาคสนามจากจังหวัดนำร่อง 4 จังหวัดในทุกภาค ผลที่ได้จากการศึกษานำไปออกแบบระบบ แผนยุทธศาสตร์และตัวชี้วัดงานเฝ้าระวังและเตือนภัยทางสังคม