Now showing items 182-201 of 1119

    • type-icon

      การศึกษาแนวทางที่เหมาะสมต่อการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศด้านกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ภายใต้โครงการขับเคลื่อนประเด็นสำคัญในรัฐธรรมนูญเพื่อการปฏิรูปประเทศ ด้านกระบวนการยุติธรรม 

      ธีระ สินเดชารักษ์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2020-05-15)

      เข้าถึงข้อมูลได้ที่ http://kpi.ac.th/knowledge/research/data/10375
    • Thumbnail

      การศึกษาแรงลม ของโครงการอาคารพาร์ค ออริจิ้น พระราม 4 โดยการทดสอบในอุโมงค์ลม 

      วิโรจน์ บุญญภิญโญ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2564-01-22)

      ตามไฟล์แนบ
    • type-icon

      การศึกษาแรงลม โดยการทดสอบในอุโมงค์ลม ของโครงการ The Line Sukhumvit 101 

      วิโรจน์ บุญญภิญโญ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2016)

      วัตถุประสงค์ของการศึกษาแรงลมของโครงการ The Line Sukhumvit 101 โดยการทดสอบในอุโมงค์ลม มีดังนี้ 1) การศึกษาแรงลมโดยรวมและการตอบสนองของอาคาร ด้วยวิธีการวัดแรงลมที่ฐานอาคารในอุโมงค์ลม เพื่อนำแรงลมไปออกแบบโครงสร้างหลักต้านทานแรงลม และคำนวณอัตราเร่งสูงสุดที่ยอดอาคารภายใต้แรงลม 2) ศึกษาแรงลมเฉพาะที่สำหรับออกแบบผนังภายนอกอาคาร ด้วยวิธีวัดหน่วยแรงลมของแบบจำลองในอุโมงค์ลม เพื่อนำหน่วยแรงลมไปออกแบบกระจกรอบอาคารตามหน่วยแรงลมที่เกิดขึ้นจริง ซึ่งทำให้ปลอดภัย และประหยัด กล่าวคือบริเวณที่มีหน่วยแรงลมมากก็เสริมกระจกให้มีความหนามากขึ้น ส่วนบริเวณที่มีหน่วยแรงลม ...
    • type-icon

      การศึกษาแรงลมของโครงการสุขุมวิท 24 โดยการทดสอบในอุโมงค์ลม – การทดสอบเพิ่มเติม 

      วิโรจน์ บุญญภิญโญ; Boonyapinyo, Virote (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2014)

      This report presents final results for effects of architectural fin on pressure measurement study for cladding design of tower 1B by wind tunnel test. The Sukhumvit 24 project comprises two phase (five towers with different heights).The project is developed on between Soi Sukhumvit 22 and 24 Roads. Phase 1 consists of two high-rise towers and phase 2 consists of three high-rise towers. Tower 1B in phase 1 is of approximately flat rectangular which has 51 stories and 186.7 m high. Tower 2B in phase 2 has 51 stories. This building has the following ...
    • Thumbnail

      การศึกษาแรงลมของโครงการอาคาร Ashton Asoke โดยการทดสอบในอุโมงค์ลม 

      วิโรจน์ บุญญภิญโญ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2015)
    • type-icon

      การศึกษาแรงลมของโครงการโนเบิล บีไนน์ทีน โดยการทดสอบในอุโมงค์ลม 

      วิโรจน์ บุญญภิญโญ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2015)

      วัตถุประสงค์ของการศึกษาแรงลมของโครงการ The NobelBE19 โดยการทดสอบในอุโมงค์ลม มีดังนี้ 1) การศึกษาแรงลมโดยรวมและการตอบสนองของอาคาร ด้วยวิธีการวัดแรงลมที่ฐานอาคารในอุโมงค์ลม เพื่อนำแรงลมไปออกแบบโครงสร้างหลักต้านทานแรงลม และคำนวณอัตราเร่งสูงสุดที่ยอดอาคารภายใต้แรงลม 2) ศึกษาแรงลมเฉพาะที่สำหรับออกแบบผนังภายนอกอาคาร ด้วยวิธีวัดหน่วยแรงลมของแบบจำลองในอุโมงค์ลม เพื่อนำหน่วยแรงลมไปออกแบบกระจกรอบอาคารตามหน่วยแรงลมที่เกิดขึ้นจริง ซึ่งทำให้ปลอดภัย และประหยัด กล่าวคือบริเวณที่มีหน่วยแรงลมมากก็เสริมกระจกให้มีความหนามากขึ้น ส่วนบริเวณที่มีหน่วยแรงลมน้อยก็ใช้ก ...
    • type-icon

      การศึกษาแรงลมโครงการคอนโดมิเนียม ASHTON โดยการทดสอบในอุโมงค์ลม 

      วิโรจน์ บุญญภิญโญ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2016)

      วัตถุประสงค์ของการศึกษาแรงลมของโครงการ คอนโดมิเนียม แอชตัน อโศก โดยการทดสอบในอุโมงค์ลม มีดังนี้ 1) ศึกษาแรงลมเฉพาะที่สำหรับออกแบบผนังภายนอกอาคาร ด้วยวิธีวัดหน่วยแรงลมของแบบจำลองในอุโมงค์ลม เพื่อนำหน่วยแรงลมไปออกแบบกระจกรอบอาคารตามหน่วยแรงลมที่เกิดขึ้นจริง ซึ่งทำให้ปลอดภัย และประหยัด กล่าวคือบริเวณที่มีหน่วยแรงลมมากก็เสริมกระจกให้มีความหนามากขึ้น ส่วนบริเวณที่มีหน่วยแรงลมน้อยก็ใช้กระจกที่บางลงได้ คอนโดมิเนียม แอชตัน อโศก ที่ศึกษาเป็นอาคารสูงเทียบเท่า 193 ม. กว้าง 20.21 ม. ลึก 79.38 ม. อาคารตั้งอยู่บนถนนอโศก มนตรี กรุงเทพมหานคร อาคารที่ศึกษาต ...
    • type-icon

      การศึกษาแรงลมโครงการแอชตัน สีลม โดยการทดสอบในอุโมงค์ลม (WIND LOAD STUDY FOR ASHTON SILOM PROJECT BY WIND TUNNEL TEST) 

      วิโรจน์ บุญญภิญโญ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

      วัตถุประสงค์ของการศึกษาแรงลมของโครงการ Ashton Silom โดยการทดสอบในอุโมงค์ลม มีดังนี้ 1) ศึกษาแรงลมเฉพาะที่สำหรับออกแบบผนังภายนอกอาคาร ด้วยวิธีวัดหน่วยแรงลมของแบบจำลองในอุโมงค์ลม เพื่อนำหน่วยแรงลมไปออกแบบกระจกรอบอาคารตามหน่วยแรงลมที่เกิดขึ้นจริง ซึ่งทำให้ปลอดภัย และประหยัด กล่าวคือบริเวณที่มีหน่วยแรงลมมากก็เสริมกระจกให้มีความหนามากขึ้น ส่วนบริเวณที่มีหน่วยแรงลมน้อยก็ใช้กระจกที่บางลงได้ คอนโดมิเนียม Ashton Silom ที่ศึกษาเป็นอาคารสูง 55 ชั้น มีความสูง 186.95 ม. กว้าง 29.67 ม. ลึก 54.14 ม. อาคารตั้งอยู่บนถนนสีลม กรุงเทพมหานคร อาคารที่ศึกษาต้องมีก ...
    • type-icon

      การศึกษาแรงลมโดยการทดสอบในอุโมงค์ลม ของโครงการ H1 Thonglor 

      วิโรจน์ บุญญภิญโญ; Boonyapinyo, Virote (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2016)

      วัตถุประสงค์ของการศึกษาแรงลมของโครงการอาคาร H1 ทองหล่อ โดยการทดสอบในอุโมงค์ลม มีดังนี้ 1) การศึกษาแรงลมโดยรวมและการตอบสนองของอาคาร ด้วยวิธีการวัดแรงลมที่ฐานอาคารในอุโมงค์ลม เพื่อนำแรงลมไปออกแบบโครงสร้างหลักต้านทานแรงลม และคำนวณอัตราเร่งสูงสุดที่ยอดอาคารภายใต้แรงลม 2) ศึกษาแรงลมเฉพาะที่สำหรับออกแบบผนังภายนอกอาคาร ด้วยวิธีวัดหน่วยแรงลมของแบบจำลองในอุโมงค์ลม เพื่อนำหน่วยแรงลมไปออกแบบกระจกรอบอาคารตามหน่วยแรงลมที่เกิดขึ้นจริง ซึ่งทำให้ปลอดภัย และประหยัด กล่าวคือบริเวณที่มีหน่วยแรงลมมากก็เสริมกระจกให้มีความหนามากขึ้น ส่วนบริเวณที่มีหน่วยแรงลมน้อยก็ใช ...
    • type-icon

      การศึกษาแรงลมโดยวิธีทดสอบแบบจำลองในอุโมงค์ลม โครงการอาคาร WHA BANGNA (WIND LOAD STUDY FOR WHA BANGNA BUILDING PROJECT BY WIND TUNNEL TEST) 

      วิโรจน์ บุญญภิญโญ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-02-20)

      วัตถุประสงค์ของการศึกษาแรงลมของโครงการอาคาร WHA Bangna โดยการทดสอบในอุโมงค์ลม มีดังนี้ 1) การศึกษาแรงลมโดยรวมและการตอบสนองของอาคาร ด้วยวิธีการวัดแรงลมที่ฐานอาคารในอุโมงค์ลม เพื่อนำแรงลมไปออกแบบโครงสร้างหลักต้านทานแรงลม และคำนวณอัตราเร่งสูงสุดที่ยอดอาคารภายใต้แรงลม 2) ศึกษาแรงลมเฉพาะที่สำหรับออกแบบผนังภายนอกอาคาร ด้วยวิธีวัดหน่วยแรงลมของแบบจำลองในอุโมงค์ลม เพื่อนำหน่วยแรงลมไปออกแบบกระจกรอบอาคารตามหน่วยแรงลมที่เกิดขึ้นจริง ซึ่งทำให้ปลอดภัย และประหยัด กล่าวคือบริเวณที่มีหน่วยแรงลมมากก็เสริมกระจกให้มีความหนามากขึ้น ส่วนบริเวณที่มีหน่วยแรงลมน้อยก็ใช ...
    • type-icon

      การศึกษาแรงลมโดยวิธีทดสอบแบบจำลองในอุโมงค์ลม โครงการอาคาร XT Phetchaburi (Wind Load Study for XT Phetchaburi Building Project by Wind Tunnel Test) 

      วิโรจน์ บุญญภิญโญ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2019)

      วัตถุประสงค์ของการศึกษาแรงลมของโครงการอาคารชุด XT เพชรบุรี (PBT)โดยการทดสอบในอุโมงค์ลม มีดังนี้ 1) การศึกษาแรงลมโดยรวมและการตอบสนองของอาคาร ด้วยวิธีการวัดแรงลมที่ฐานอาคารในอุโมงค์ลม เพื่อนำแรงลมไปออกแบบโครงสร้างหลักต้านทานแรงลม และคำนวณอัตราเร่งสูงสุดที่ยอดอาคารภายใต้แรงลม 2) ศึกษาแรงลมเฉพาะที่สำหรับออกแบบผนังภายนอกอาคาร ด้วยวิธีวัดหน่วยแรงลมของแบบจำลองในอุโมงค์ลม เพื่อนำหน่วยแรงลมไปออกแบบกระจกรอบอาคารตามหน่วยแรงลมที่เกิดขึ้นจริง ซึ่งทำให้ปลอดภัย และประหยัด กล่าวคือบริเวณที่มีหน่วยแรงลมมากก็เสริมกระจกให้มีความหนามากขึ้น ส่วนบริเวณที่มีหน่วยแรงล ...
    • type-icon

      การศึกษาและจัดทำแนวทางการบริหารจัดการอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Monitoring:EM) สำหรับผู้กระทำผิดในกระบวนการยุติธรรม โดยวิธีเฉพาะเจาะจง 

      สุธาทิพย์ สวนมะลิ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2564-08-27)

      โครงการนี้มีวัตถุประสงค์ คือ เพื่อศึกษาความเป็นไปได้เกี่ยวกับการใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัวกับผู้กระทำผิดโดยศึกษาถึงค่าใช้จ่ายต่อคน การบริหารจัดการค่าใช้จ่าย แนวทางการใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัว หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเพื่อจัดทำแนวทางในการบริหารอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัวที่เหมาะสมกับประเทศไทย ประกอบด้วยรูปแบบการบริหารจัดการ ขั้นตอนการดำเนินงาน ระเบียบ/ ข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้อง การบริหารจัดการการเงินและค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ซึ่งผลการศึกษาพบว่า การบริหารจัดการอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัว (EM) ที่เหมาะสมในประเทศไทยนั้นควรเป็นการทำงานร ...
    • type-icon

      การศึกษาและพัฒนานวัตกรรมทางสังคมเพื่อขับเคลื่อนสุขภาวะ โดยการมีส่วนร่วมของเด็กและเยาวชน : กรณีศึกษานำร่องสภาเด็กและเยาวชนระดับจังหวัด 

      ชานนท์ โกมลมาลย์; Chanon Komonmarn (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2016)

      โครงการการศึกษาและพัฒนานวัตกรรมทางสังคมเพื่อขับเคลื่อนสุขภาวะ โดยการมีส่วนร่วมของเด็กและเยาวชน : กรณีศึกษานำร่องสภาเด็กและเยาวชนระดับจังหวัด (Social Innovation and Youth) เป็นโครงการที่ได้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการ ฯ จากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้าง เสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของสภาเด็กและเยาวชนและแกนนำเยาวชนต่อการขับเคลื่อนนวัตกรรมทางสังคมในระดับพื้นที่และจังหวัด 2) เพื่อสร้างเครือข่ายแกนนำสภาเด็กและเยาวชนและคนทำงานด้านการพัฒนาเยาวชนในพื้นที่ ที่สามารถเชื่อมโยงกับเครือข่ายและกลไกสนับสนุ ...
    • type-icon

      การศึกษาและพัฒนาระบบติดตามและประเมินปริมาณก๊าซเรือนกระจกจากการใช้ประโยชน์ที่ดิน ด้วยเทคโนโลยีการสำรวจระยะไกล (Remote Sensing) 

      วาสินี วรรณศิริ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2018)

      โครงการวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและพัฒนาระบบการติดตามการใช้ประโยชน์ที่ดินและการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินของจังหวัดที่เข้าร่วมในโครงการพัฒนาแนวทางลดก๊าซเรือนกระจกระดับจังหวัด ด้วยเทคโนโลยีการสำรวจข้อมูลระยะไกล และจัดทำชุดข้อมูลการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการใช้ประโยชน์ที่ดินและการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน ทั้งหมด 8 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพมหานคร นนทบุรี น่าน ภูเก็ต สงขลา สมุทรปราการ สระบุรี และอุดรธานี โดยประเมินปริมาณก๊าซเรือนกระจกจากการเปลี่ยนแปลงปริมาณคาร์บอนสะสมของชีวมวลจากการใช้ประโยชน์ที่ดิน 6 ประเภทหลัก ได้แก่ ป่าไม้ เกษตรกรรม ...
    • type-icon

      การศึกษาโอกาสการค้าอัญมณีและเครื่องประดับไทยในตลาดตะวันออกกลาง 

      วิทวัส รุ่งเรืองผล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2014)

      (HS7103.91 + HS7103.99) Gulf Cooperation Council or GCC is one of the wealthiest groups of the world; GCC has 6 member countries, United Arab Emirates, Saudi Arabia, Kuwait, Bahrain, Oman and Qatar. GCC economic can display the market growth rate and trend of The Middle East. Therefore, “The study of Thai Gems and Jewelry’s Trade opportunities in Middle East Market” focused on GCC market with objective of learning buyer behavior, preference of end user, and potential of Thai jewelry products in the market. The ultimate goal of this project is to ...
    • Thumbnail

      การศึกษาโอกาสและการพัฒนาสิ่งอำนวยความสะดวกทางการค้า (Trade Facilitation) ในกลุ่มประเทศ CLMVT (กัมพูชา สปป.ลาว เมียนมา เวียดนาม และไทย) (A Study on the Implementation and Development the Trade Facilitation in the CLMVT Countries (Cambodia, Lao PDR, Myanmar, Vietnam and Thailand) 

      รุธิร์ พนมยงค์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2561)

      ในช่วงระยะเวลาหลายปีที่ผ่านมาการเจริญเติบโตทางการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศไทยกับประเทศกลุ่มประเทศ CLMV มีการเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ไทยกลายเป็นประเทศคู่ค้าที่มีความสำคัญต่อประเทศเพื่อนบ้านในกลุ่ม CLMV อย่างไรก็ตามในปัจจุบันการอำนวยความสะดวกทางการค้าในกลุ่มประเทศ CLMVT ยังคงเผชิญกับอุปสรรคในการเคลื่อนย้ายสินค้าข้ามพรมแดนระหว่างกันส่งผลให้เกิดมีต้นทุนทางการค้าและระยะเวลาที่สูงขึ้นโดยไม่จำเป็น ซึ่งส่งผลกระทบต่อการค้าและการลงทุนระหว่างกลุ่มประเทศ CLMVT ในการศึกษาคณะผู้วิจัยได้มีการทบทวนงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการอำนวยความความสะดวกทางการค้า ...
    • type-icon

      การสร้างตัวแบบผู้นำที่ทรงธรรมปัญญา โครงการวิจัยเพื่อพัฒนาประชาธิปไตยอย่างยั่งยืน สถาบันพระปกเกล้า 

      ศุภสวัสดิ์ ชัชวาลย์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2562)

      เข้าถึงข้อมูลได้ที่เว็บไซต์ของสถาบัน http://kpi.ac.th/knowledge/research/data/372
    • type-icon

      การสร้างทางเลือกที่เหมาะสมด้วยมาตรการไม่คุมขังกับผู้ต้องขังหญิงและการหลีกเลี่ยงการใช้โทษจำคุก และการสร้างความฉลาดรู้ทางกฎหมาย ตามข้อกำหนดกรุงเทพฯ 

      ศักดิ์ชัย เลิศพานิชพันธุ์; มาดี ลิ่มสกุล; ชลธิชา พันธ์พานิช (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2014)

      การศึกษาการสร้างทางเลือกที่เหมาะสมด้วยมาตรการไม่คุมขังผู้หญิงและการหลีกเลี่ยงการใช้โทษจำคุกและการสร้างความฉลาดรู้ทางกฎหมาย ตามข้อกำหนดกรุงเทพฯ (Bangkok Rules) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางมาตรการในการสร้างทางเลือกที่เหมาะสมด้วยมาตรการไม่คุมขังสำหรับผู้ต้องขังหญิง ศึกษาแนวทาง มาตรการที่เหมาะสมในการลดระยะเวลาการจำคุกของผู้ต้องขังหญิง ศึกษาและทำให้เกิดการเข้าถึงความยุติธรรมในทุกขั้นตอนของกระบวนการยุติธรรมทางอาญา อีกทั้งเพื่อสร้างกระบวนการให้ความรู้ทางกฎหมายที่จำเป็นสำหรับผู้ต้องขัง และการให้คำปรึกษาทางกฎหมายแก่ผู้ต้องขัง และท้ายสุดได้แก่ แสวงหาแนวทางแก้ไข ...
    • Thumbnail

      การสร้างประสิทธิภาพประชาคมสื่อและอาสาสมัครประชาสัมพันธ์ สำนักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 

      สถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2008)
    • type-icon

      การสร้างระบบและแนวทางการดำเนินงานพัฒนาเครือข่ายภายใต้ระบบนิเวศนวัตกรรมแห่งชาติ 

      สุนิสา ช่อแก้ว (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

      การเร่งสร้างเครือข่ายนวัตกรรมเป็นหนึ่งในยุทธศาสตร์ที่สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) ดำเนินการเพื่อให้ตอบโจทย์การมีนวัตกรรมเพื่อเพิ่มคุณค่าที่ยั่งยืนให้กับสังคมไทย ด้วยความสำคัญดังกล่าวจึงเป็นที่มาของการศึกษา “การสร้างระบบและแนวทางการดำเนินงานพัฒนาเครือข่ายภายใต้ระบบนิเวศนวัตกรรมแห่งชาติ” ภายใต้กรอบการดำเนินงาน 4 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนแรก พัฒนาตัวแบบ ขั้นตอนที่สอง วางแนวทางและรูปแบบการดำเนินงาน ขั้นตอนที่สาม ออกแบบเครื่องมือการประเมิน และขั้นตอนที่สี่ จัดทำโครงการนำร่อง จากผลลัพธ์ในการดำเนินโครงการ พบว่า (1) ตัวแบบระบบในการพัฒนาเครือข่ายนวัตกรรม ...