Now showing items 174-193 of 1119

    • Thumbnail

      การศึกษาสำรวจและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อสนับสนุนในการจัดทำแผนการขยายการสอนทางสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ไปรังสิต : รายงานการวิจัย 

      มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. กองแผนงาน. ฝ่ายวางแผนพัฒนาและเทคโนโลยี. (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
    • Thumbnail

      การศึกษาอำเภอต้นแบบในการจัดบริการสาธารณะเพื่อการบริการประชาชนแบบเบ็ดเสร็จ (Government outlet) 

      นครินทร์ เมฆไตรรัตน์; อรทัย ก๊กผล; ดวงมณี เลาวกุล; ศุภสวัสดิ์ ชัชวาลย์; วสันต์ เหลืองประภัสร์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2005)

      การวิจัยนี้เป็นการวิจัยพื้นฐานแบบมีทิศทางเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ในเรื่องการจัดการบริการประชาชนของรัฐทั้งในส่วนของรัฐบาลกลางและท้องถิ่นโดยศึกษาเปรียบเทียบระหว่างประเทศสหราชอาณาจักร ญี่ปุ่น ออสเตรเลียและประเทศไทย วิเคราะห์และจำแนกงานบริการประชาชนเป็น งานประเภท counter service, service link, off-house service หรือ in-house service ศึกษาความเป็นไปได้ในการมอบให้อำเภอให้บริการงาน counter service และเสนอแนะรูปแบบหน่วยงานของรัฐเพื่อบริการประชาชนแบบเบ็ดเสร็จในระดับอำเภอ
    • type-icon

      การศึกษาเชิงนโยบายเกี่ยวกับศักยภาพของรถโดยสารไฟฟ้าโทรลลีล้อยาง กรณีศึกษาเมืองพัทยา 

      ภาวิณี เอี่ยมตระกูล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-03-04)

      แผนการพัฒนาระบบการสัญจรในประเทศไทยนั้นที่ได้มีการดำเนินการในการกระตุ้นจากภาครัฐผ่านกรอบนโยบายระดับต่าง ๆ ทั้งความเป็นไปได้ในเชิงของเทคโนโลยี จนถึงความสนใจของผู้ประกอบการและหน่วยงานปกครองส่วนท้องถิ่น อย่างไรก็ตามปัจจุบันยังไม่มีการศึกษาและวิเคราะห์ด้านความคุ้มทุนในเชิงของนโยบายและการนำไปใช้ให้เกิดขึ้นจริงและชัดเจนในปัจจุบัน งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษากรอบนโยบายและมาตรการที่เกี่ยวข้องกับการวางแผนเมือง การคมนาคมขนส่ง การอนุรักษ์พลังงานสิ่งแวดล้อม และสถานการณ์การพัฒนาเมืองที่เกิดขึ้นในประเทศไทยต่อความเป็นไปได้ในการใช้รถโดยสารไฟฟ้าโท ...
    • Thumbnail

      การศึกษาเพื่อการวางแผน การควบคุมและป้องกัน โรคติดเชื้อพยาธิใบไม้ตับในโคเนื้อและโคนม โดยใช้โมเดลการศึกษาในพื้นที่อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา 

      อมรรัตน์ เกิดแก้ว เคร็นซ์; พงศกร มาตย์วิเศษ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2565-01-05)

      พื้นที่อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา เป็นพื้นที่ที่มีการทำฟาร์มปศุสัตว์ที่เป็นโฮสต์จำเพาะของพยาธิใบไม้ Fasciola gigantica อยู่หลายชนิด เช่น โค กระบือ เป็นต้น โดยสัตว์เศรษฐกิจที่มีการเลี้ยงกันอย่างแพร่หลายในพื้นที่ดังกล่าว คือโคเนื้อและโคนม นอกจากปัจจัยด้านปศุสัตว์แล้ว ลักษณะทางภูมิศาสตร์ของอำเภอปากช่องซึ่งเป็นพื้นที่ราบสูงเชิงเขาและที่ราบลุ่มมีแหล่งน้ำขนาดเล็กใหญ่กระจายอยู่ทั่วไป มีความเหมาะสมต่อการแพร่พันธุ์ของหอยตัวกลางชนิดที่หนึ่งของพยาธิใบไม้ F. gigantica จึงทำให้มีโอกาสสูงที่พยาธิจะสามารถดำรงชีวิตแบบครบวงจรได้ การศึกษาวิจัยภายใต้แผนงานวิจ ...
    • type-icon

      การศึกษาเพื่อหาแหล่งกำเนิดฝุ่นละอองในพื้นที่เขตควบคุมมลพิษ ตำบลหน้าพระลาน จังหวัดสระบุรี และพื้นที่โดยรอบเขตควบคุมมลพิษในรัศมีไม่เกิน 10 กิโลเมตร 

      ธงชัย ขนาบแก้ว (สถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2023-01-20)

      สามารถเข้าดูเนื้อหาได้ที่ www.pcd.go.th/publication/28032
    • Thumbnail

      การศึกษาเรื่องบทบาทและความสัมพันธ์ของวัดและพระสงฆ์กับผู้สูงอายุไทย 

      บำรุง สุขพรรณ์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2010)
    • type-icon

      การศึกษาแนวทางการดำเนินงานการสร้างระบบนิเวศนวัตกรรมระดับภูมิภาคของประเทศไทย 

      ทวิดา กมลเวชช (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2020-05-26)

      คู่มือระบบนวัตกรรมภูมิภาคฉบับนี้จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) ใช้ในการสื่อสารสร้างความเข้าใจ และเป็นแนวทางในการดำเนินการสร้างระบบนวัตกรรมภูมิภาค ร่วมกับตัวแสดง และเครือข่ายต่าง ๆ ในพื้นที่ การวิจัยอันนำมาสู่คู่มือฉบับนี้เป็นงานวิจัยเชิงประยุกต์ (Applied Research) โดยสำรวจ และรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร (Documentary Research) ซึ่งเป็นการวิเคราะห์ตัวแบบระบบนวัตกรรมภูมิภาคของต่างประเทศที่มีอยู่ในปัจจุบัน และการวิจัยภาคสนาม (Field Research) โดยใช้วิธีการเก็บข้อมูลทั้งจากการประชุมกลุ่มย่อย และการสัมภาษณ์เชิงลึก ...
    • type-icon

      การศึกษาแนวทางการประเมินมูลค่าที่ดินชุมชนในเขตปฏิรูปที่ดิน สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ระยะที่ 1) 

      จิตตาภรณ์ ศรีบุญจิตต์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2013)

      Land in the residential community main purpose is to assist farmers to have their own dwelling without cost but because of urban growth, land use has changed somewhat. Some use still remains as residential but some have turned into commercial. Some commercials are minor support to family income and some are commercial business that supports the farming and residential daily life and operation. However, some land use have turnedinto a fully operated businesses both retail and industrial. Rent was never collected and a new policy must now be ...
    • type-icon

      การศึกษาแนวทางที่เหมาะสมต่อการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศด้านกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ภายใต้โครงการขับเคลื่อนประเด็นสำคัญในรัฐธรรมนูญเพื่อการปฏิรูปประเทศ ด้านกระบวนการยุติธรรม 

      ธีระ สินเดชารักษ์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2020-05-15)

      เข้าถึงข้อมูลได้ที่ http://kpi.ac.th/knowledge/research/data/10375
    • Thumbnail

      การศึกษาแรงลม ของโครงการอาคารพาร์ค ออริจิ้น พระราม 4 โดยการทดสอบในอุโมงค์ลม 

      วิโรจน์ บุญญภิญโญ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2564-01-22)

      ตามไฟล์แนบ
    • type-icon

      การศึกษาแรงลม โดยการทดสอบในอุโมงค์ลม ของโครงการ The Line Sukhumvit 101 

      วิโรจน์ บุญญภิญโญ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2016)

      วัตถุประสงค์ของการศึกษาแรงลมของโครงการ The Line Sukhumvit 101 โดยการทดสอบในอุโมงค์ลม มีดังนี้ 1) การศึกษาแรงลมโดยรวมและการตอบสนองของอาคาร ด้วยวิธีการวัดแรงลมที่ฐานอาคารในอุโมงค์ลม เพื่อนำแรงลมไปออกแบบโครงสร้างหลักต้านทานแรงลม และคำนวณอัตราเร่งสูงสุดที่ยอดอาคารภายใต้แรงลม 2) ศึกษาแรงลมเฉพาะที่สำหรับออกแบบผนังภายนอกอาคาร ด้วยวิธีวัดหน่วยแรงลมของแบบจำลองในอุโมงค์ลม เพื่อนำหน่วยแรงลมไปออกแบบกระจกรอบอาคารตามหน่วยแรงลมที่เกิดขึ้นจริง ซึ่งทำให้ปลอดภัย และประหยัด กล่าวคือบริเวณที่มีหน่วยแรงลมมากก็เสริมกระจกให้มีความหนามากขึ้น ส่วนบริเวณที่มีหน่วยแรงลม ...
    • type-icon

      การศึกษาแรงลมของโครงการสุขุมวิท 24 โดยการทดสอบในอุโมงค์ลม – การทดสอบเพิ่มเติม 

      วิโรจน์ บุญญภิญโญ; Boonyapinyo, Virote (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2014)

      This report presents final results for effects of architectural fin on pressure measurement study for cladding design of tower 1B by wind tunnel test. The Sukhumvit 24 project comprises two phase (five towers with different heights).The project is developed on between Soi Sukhumvit 22 and 24 Roads. Phase 1 consists of two high-rise towers and phase 2 consists of three high-rise towers. Tower 1B in phase 1 is of approximately flat rectangular which has 51 stories and 186.7 m high. Tower 2B in phase 2 has 51 stories. This building has the following ...
    • Thumbnail

      การศึกษาแรงลมของโครงการอาคาร Ashton Asoke โดยการทดสอบในอุโมงค์ลม 

      วิโรจน์ บุญญภิญโญ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2015)
    • type-icon

      การศึกษาแรงลมของโครงการโนเบิล บีไนน์ทีน โดยการทดสอบในอุโมงค์ลม 

      วิโรจน์ บุญญภิญโญ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2015)

      วัตถุประสงค์ของการศึกษาแรงลมของโครงการ The NobelBE19 โดยการทดสอบในอุโมงค์ลม มีดังนี้ 1) การศึกษาแรงลมโดยรวมและการตอบสนองของอาคาร ด้วยวิธีการวัดแรงลมที่ฐานอาคารในอุโมงค์ลม เพื่อนำแรงลมไปออกแบบโครงสร้างหลักต้านทานแรงลม และคำนวณอัตราเร่งสูงสุดที่ยอดอาคารภายใต้แรงลม 2) ศึกษาแรงลมเฉพาะที่สำหรับออกแบบผนังภายนอกอาคาร ด้วยวิธีวัดหน่วยแรงลมของแบบจำลองในอุโมงค์ลม เพื่อนำหน่วยแรงลมไปออกแบบกระจกรอบอาคารตามหน่วยแรงลมที่เกิดขึ้นจริง ซึ่งทำให้ปลอดภัย และประหยัด กล่าวคือบริเวณที่มีหน่วยแรงลมมากก็เสริมกระจกให้มีความหนามากขึ้น ส่วนบริเวณที่มีหน่วยแรงลมน้อยก็ใช้ก ...
    • type-icon

      การศึกษาแรงลมโครงการคอนโดมิเนียม ASHTON โดยการทดสอบในอุโมงค์ลม 

      วิโรจน์ บุญญภิญโญ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2016)

      วัตถุประสงค์ของการศึกษาแรงลมของโครงการ คอนโดมิเนียม แอชตัน อโศก โดยการทดสอบในอุโมงค์ลม มีดังนี้ 1) ศึกษาแรงลมเฉพาะที่สำหรับออกแบบผนังภายนอกอาคาร ด้วยวิธีวัดหน่วยแรงลมของแบบจำลองในอุโมงค์ลม เพื่อนำหน่วยแรงลมไปออกแบบกระจกรอบอาคารตามหน่วยแรงลมที่เกิดขึ้นจริง ซึ่งทำให้ปลอดภัย และประหยัด กล่าวคือบริเวณที่มีหน่วยแรงลมมากก็เสริมกระจกให้มีความหนามากขึ้น ส่วนบริเวณที่มีหน่วยแรงลมน้อยก็ใช้กระจกที่บางลงได้ คอนโดมิเนียม แอชตัน อโศก ที่ศึกษาเป็นอาคารสูงเทียบเท่า 193 ม. กว้าง 20.21 ม. ลึก 79.38 ม. อาคารตั้งอยู่บนถนนอโศก มนตรี กรุงเทพมหานคร อาคารที่ศึกษาต ...
    • type-icon

      การศึกษาแรงลมโครงการแอชตัน สีลม โดยการทดสอบในอุโมงค์ลม (WIND LOAD STUDY FOR ASHTON SILOM PROJECT BY WIND TUNNEL TEST) 

      วิโรจน์ บุญญภิญโญ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

      วัตถุประสงค์ของการศึกษาแรงลมของโครงการ Ashton Silom โดยการทดสอบในอุโมงค์ลม มีดังนี้ 1) ศึกษาแรงลมเฉพาะที่สำหรับออกแบบผนังภายนอกอาคาร ด้วยวิธีวัดหน่วยแรงลมของแบบจำลองในอุโมงค์ลม เพื่อนำหน่วยแรงลมไปออกแบบกระจกรอบอาคารตามหน่วยแรงลมที่เกิดขึ้นจริง ซึ่งทำให้ปลอดภัย และประหยัด กล่าวคือบริเวณที่มีหน่วยแรงลมมากก็เสริมกระจกให้มีความหนามากขึ้น ส่วนบริเวณที่มีหน่วยแรงลมน้อยก็ใช้กระจกที่บางลงได้ คอนโดมิเนียม Ashton Silom ที่ศึกษาเป็นอาคารสูง 55 ชั้น มีความสูง 186.95 ม. กว้าง 29.67 ม. ลึก 54.14 ม. อาคารตั้งอยู่บนถนนสีลม กรุงเทพมหานคร อาคารที่ศึกษาต้องมีก ...
    • type-icon

      การศึกษาแรงลมโดยการทดสอบในอุโมงค์ลม ของโครงการ H1 Thonglor 

      วิโรจน์ บุญญภิญโญ; Boonyapinyo, Virote (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2016)

      วัตถุประสงค์ของการศึกษาแรงลมของโครงการอาคาร H1 ทองหล่อ โดยการทดสอบในอุโมงค์ลม มีดังนี้ 1) การศึกษาแรงลมโดยรวมและการตอบสนองของอาคาร ด้วยวิธีการวัดแรงลมที่ฐานอาคารในอุโมงค์ลม เพื่อนำแรงลมไปออกแบบโครงสร้างหลักต้านทานแรงลม และคำนวณอัตราเร่งสูงสุดที่ยอดอาคารภายใต้แรงลม 2) ศึกษาแรงลมเฉพาะที่สำหรับออกแบบผนังภายนอกอาคาร ด้วยวิธีวัดหน่วยแรงลมของแบบจำลองในอุโมงค์ลม เพื่อนำหน่วยแรงลมไปออกแบบกระจกรอบอาคารตามหน่วยแรงลมที่เกิดขึ้นจริง ซึ่งทำให้ปลอดภัย และประหยัด กล่าวคือบริเวณที่มีหน่วยแรงลมมากก็เสริมกระจกให้มีความหนามากขึ้น ส่วนบริเวณที่มีหน่วยแรงลมน้อยก็ใช ...
    • type-icon

      การศึกษาแรงลมโดยวิธีทดสอบแบบจำลองในอุโมงค์ลม โครงการอาคาร WHA BANGNA (WIND LOAD STUDY FOR WHA BANGNA BUILDING PROJECT BY WIND TUNNEL TEST) 

      วิโรจน์ บุญญภิญโญ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-02-20)

      วัตถุประสงค์ของการศึกษาแรงลมของโครงการอาคาร WHA Bangna โดยการทดสอบในอุโมงค์ลม มีดังนี้ 1) การศึกษาแรงลมโดยรวมและการตอบสนองของอาคาร ด้วยวิธีการวัดแรงลมที่ฐานอาคารในอุโมงค์ลม เพื่อนำแรงลมไปออกแบบโครงสร้างหลักต้านทานแรงลม และคำนวณอัตราเร่งสูงสุดที่ยอดอาคารภายใต้แรงลม 2) ศึกษาแรงลมเฉพาะที่สำหรับออกแบบผนังภายนอกอาคาร ด้วยวิธีวัดหน่วยแรงลมของแบบจำลองในอุโมงค์ลม เพื่อนำหน่วยแรงลมไปออกแบบกระจกรอบอาคารตามหน่วยแรงลมที่เกิดขึ้นจริง ซึ่งทำให้ปลอดภัย และประหยัด กล่าวคือบริเวณที่มีหน่วยแรงลมมากก็เสริมกระจกให้มีความหนามากขึ้น ส่วนบริเวณที่มีหน่วยแรงลมน้อยก็ใช ...
    • type-icon

      การศึกษาแรงลมโดยวิธีทดสอบแบบจำลองในอุโมงค์ลม โครงการอาคาร XT Phetchaburi (Wind Load Study for XT Phetchaburi Building Project by Wind Tunnel Test) 

      วิโรจน์ บุญญภิญโญ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2019)

      วัตถุประสงค์ของการศึกษาแรงลมของโครงการอาคารชุด XT เพชรบุรี (PBT)โดยการทดสอบในอุโมงค์ลม มีดังนี้ 1) การศึกษาแรงลมโดยรวมและการตอบสนองของอาคาร ด้วยวิธีการวัดแรงลมที่ฐานอาคารในอุโมงค์ลม เพื่อนำแรงลมไปออกแบบโครงสร้างหลักต้านทานแรงลม และคำนวณอัตราเร่งสูงสุดที่ยอดอาคารภายใต้แรงลม 2) ศึกษาแรงลมเฉพาะที่สำหรับออกแบบผนังภายนอกอาคาร ด้วยวิธีวัดหน่วยแรงลมของแบบจำลองในอุโมงค์ลม เพื่อนำหน่วยแรงลมไปออกแบบกระจกรอบอาคารตามหน่วยแรงลมที่เกิดขึ้นจริง ซึ่งทำให้ปลอดภัย และประหยัด กล่าวคือบริเวณที่มีหน่วยแรงลมมากก็เสริมกระจกให้มีความหนามากขึ้น ส่วนบริเวณที่มีหน่วยแรงล ...
    • type-icon

      การศึกษาและจัดทำแนวทางการบริหารจัดการอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Monitoring:EM) สำหรับผู้กระทำผิดในกระบวนการยุติธรรม โดยวิธีเฉพาะเจาะจง 

      สุธาทิพย์ สวนมะลิ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2564-08-27)

      โครงการนี้มีวัตถุประสงค์ คือ เพื่อศึกษาความเป็นไปได้เกี่ยวกับการใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัวกับผู้กระทำผิดโดยศึกษาถึงค่าใช้จ่ายต่อคน การบริหารจัดการค่าใช้จ่าย แนวทางการใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัว หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเพื่อจัดทำแนวทางในการบริหารอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัวที่เหมาะสมกับประเทศไทย ประกอบด้วยรูปแบบการบริหารจัดการ ขั้นตอนการดำเนินงาน ระเบียบ/ ข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้อง การบริหารจัดการการเงินและค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ซึ่งผลการศึกษาพบว่า การบริหารจัดการอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัว (EM) ที่เหมาะสมในประเทศไทยนั้นควรเป็นการทำงานร ...